ปฐมสมันดาปสาธิกาเบล ภาค ๓ - หน้า ๘๓ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 84
หน้าที่ 84 / 217

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้กล่าวถึงความหมายของคำว่า "จิต" และ "ใจ" ที่ถูกมองว่าเป็นอันเดียวกันในทางธรรม รวมถึงการศึกษาความตายและธรรมชาติของจิต โดยอ้างถึงคำสอนของพระอุบลาธระ เพื่อเน้นถึงความสามัคคีระหว่างจิตและใจ ในการวิเคราะห์คำต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้ และการสื่อสารถึงความงามของจิตที่เกี่ยวข้องกับความตาย.

หัวข้อประเด็น

-จิตและใจ
-ความตาย
-การศึกษาอธรรม
-หลักธรรมของพระอุบลาธระ
-ความสัมพันธ์ระหว่างจิตและใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (ความหมาย) - ปฐมสมันดาปสาธิกาเบล ภาค ๓ - หน้า ๘๓ อาทว่า " สติ วา อาหาร " ดังนี้ ทั้งหมด ก็พิสูจน์ว่า " ท่าน กล่าวไว้แล้วโดยใจความมั่นเอง " เพราะเป็นคำซึ่งมั่นคงดังกล่าวแล้ว บ้างหน้า จริงอยู่ ใคร ๆ ก็ไม่สามารถกล่าวคำซึ่งชวดอย่างโดยสิ้นเชิง ได้. บทว่า อิติ จิตตโม มีความว่า เธอจิตอย่างนี้ มีใจอย่างนี้ อธิบายว่า " เธอจิตหมายความตาย มีใจหมายความตายดังกล่าวแล้วใน คำนี้ว่า " ความตายของท่านถือความเป็นอยู่ " ก็เพราะในทวา " จิตต- มโน- " นี้ มนต์พิทธ์ ท่านกล่าวแล้ว เพื่อแสดงใจความแห่งจิตตพัทธ์, แต่จิตและใจ แม้ทั้ง ๒ นี้ โดยใจความ ก็เป็นอันเดียวกันนั่นเอง ; เพราะฉะนั้น เพื่อแสดงความไม่ต่างกัน โดยใจความแห่งจิตและใจนั้น ท่านพระอุบลาธระจึงกล่าวว่าไว่า " ธรรมชาติอันใด เป็นจิต ธรรมชาติ อันนั้น ก็คือใจ. ธรรมชาตินั้นเป็นใจ ธรรมชาตินั้น ก็จิต."" ส่วนนี้ความยังไม่ได้กล่าวก่อน แม้เพราะถอดอธิศพัทออกเสีย.อธิศพัทธ์ พึงชักม่รายละเอียดเป็นเจ้านำพาที่ในบทว่า " จิตตสุกฺโญปิ " นี้. จริงของ บทว่า " จิตตสุกฺโญปิ " นี้ แม้ไม่ได้ตรัสอย่างนี้ว่า " อิติ จิตตสุกฺโญปิ " ก็เพราะว่า เป็นอันตรัสแล้วโดยความเป็น เจ้าหน้าที่นั้นเอง. จริงอย่างนั้น เมื่อนำจะแสดงเฉพาะเนื้อความนั้น แห่ง บทว่า " จิตตสุกฺโญ " นั้น ก็กล่าวว่าคำว่า " มรณสัญญติ " (มีความหมายในอันตาย) เป็นอันนั้น. แต่กล่าวว่า " สุกฺโญ " นี้ใน บทว่า " จิตตสุกฺโญปิ " นั้น มิได้เป็นชื่อของวัดา, อัน ที่แท้คำคันนั้น เป็นคำเรียกกรรมเพียงการจัดแจง, และการจัดแจงนั้น ย่อมถึงความ สงเคราะห์ด้วยความหมาย ความงามใจ และความประสงค์ในอรรถนี้ ;
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More