ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค-ปัจจุบันสมุปสาครภาค ๓-หน้าที่ ๑๙
“อนาปานสุดติสมาธิ” นี้ พึงทราบใจความอย่างนี้ว่า “สมาธิ
ประกอบด้วยอนาปานสุดติ หรือสมาธิในอนาปานสุดติ ชื่อว่า อนาน-
ปานาสมาธิ.”
บทว่า ภาวิโต แปลว่า ให้เกิดขึ้น หรือให้เจริญแล้ว
บทว่า พุทโโต แปลว่า กระทำม ย ๆ.
สองบทว่า สนฺโต เจว ปฏิโโต จ อ คือ เป็นคุณสงบด้วย
นันเทียว เป็นคุณประดิษฐ์ตัวที่เดียว. ในบททั้งสอง พึงทราบความ
แน่นอนด้วยเอวํป์ที. ท่านกล่าวอธิบายไว้อย่างไร? ท่านกล่าวอธิบ
ไวว่า ” จริงอยู่ อนาปานสุดติสมาธิ จะเป็นธรรมไม่สงบ หรือไม่
ประดิษฐ โดยปรียยะอะไร ๆ เหมือนอุปกรัมฐานซึ่งเป็นกรรมฐาน
สงฺ และประดิษฐ์ ด้วยอำนาจการแทงตลอดอย่างเดียว แต่ไม่ลงบ
ไม่ประดิษฐ์ด้วยอำนาจอารมณ์ เพราะมีอารมณ์หยาบและเพราะมีอารมณ์
ปฏิกูลันนั้นหมายได้ อนึ่งแล้ว อนาปานสุดติสมาธิ สงฺ คืออธิษฐาน
ดับสนิท เพราะมีอารมณ์สงบบ้าง เพราะมิ่งอัคคิโอการแทงตลอดสงบบ้าง
ประดิษฐ์ คือไม่กระทำให้เสียเกียรติ เพราะมีอารมณ์ประดิษฐ์บ้าง เพราะ
มิ่งคัปประดิษฐบ้าง, เพราะเหตุนี้ พระผู้พระภาค จึงสำรวจว่า “สงฺ
และประดิษฐ”"
ก็ในคำว่า อนาสนะโ ก จ สุขา จ วิหาโร นี้ มิวิจฉิตดังนี้ :
อนาปานสุดติสมาธินั้น ไม่มีเครื่องคร; เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า
โยอิตึยิน คือไม่มีเครื่องราดไม่มีเจือปน แผนกหนึ่งต่างหาก ไม่ทั่วไป.
อึ่งนี้ ความสงบโดยบริกรรม หรือโดยอุทธาจ ในอนาปานสุดติสมาธิ