ข้อความต้นฉบับในหน้า
ปรัชญา๑ - ปฐมสมันต์ปาฏิหาริย์ ภาค ๓ - หน้าที่ ๕๓
รายละเอียดเป็นอารมณ์ ย่อมเป็นไป, แม้เมื่อจิตดวงนั้นดับไปแล้ว จิต
ดวงต่อ ๆ ไป ซึ่งมีอารมณ์คือมิติที่ละเอียดกว่า จิตนั้น ย่อม
เป็นไปได้นั่นเทียว
ถามว่า "จิตดวงต่อ ๆ ไป ย่อมเป็นไปอย่างไร ? "
แก้ว่า "เปรียบเช่นอนุรุน พึงเอาชลีหลักท่อนใหญ่ดูดกัลศลา
ด้วยการตีเพียงครั้งเดียว เสียงดัง พึ่งเกิดขึ้น, จิตของรบุทธนัน ซึ่งมี
เสียงดัง (หยาบ) เป็นอารมณ์ พึ่งเป็นไป, เมื่อเสียงดังนั้นไป ต่อจาก
นั้นภายหลัง จิตซึ่งมีเสียงละเอียดย่อมเป็นอารมณ์ พึ่งเป็นไป, แม้จิต
ซึ่งมีมิติ คือเสียงละเอียดย่อมเป็นอารมณ์นี้ดับไปแล้ว จิตดวงต่อ ๆ ไป
ซึ่งมีอารมณ์คือมิติที่ละเอียดกว่า อารมณ์นั้น คือเสียง
ละเอียดเป็นอารมณ์นั้น ย่อมเป็นไปได้ดีฉันใด, จิตซึ่งมีมิติคือองค์
อัสสะละและปัสสะละเป็นอารมณ์นั้น บันดึกพิงทราบว่า ย่อมเป็นไป
ฉันนั้น." แม้อันนี้สมองดังคำที่พระธรรมเสนาบดีศรีบูรพตำไว้ว่าไว้ว่า
"เปรียบเหมือนบุคคลดังศาล (เสียงดังคือเสียงหยาย ย่อมกระจาย
ไปก่อน) " ดังนี้ เป็นต้น, ควรให้พิสดาร, เหมือนอย่างว่า กรรมฐาน
เหล่าอิสล ย่อมปรกุลฉันในชั้นสูง ๆ ขึ้นไป ฉันใด, อนาบันสลัด-
กรรมฐานนี้จะเป็นฉันนั้น ก็สามารถได้. แต่ถอนาบันสักกรรมฐานนี้
เมื่อภกุเทพฯ ในชั้นสูงขึ้นไป ย่อมถึงความเป็นของละเอียด คือ
จะไม่ถึงแม้ว่าความปรากฏ, ก็เมื่อกรรมฐานนั้น ไม่ปรากฏอยู่แน่นั่น
ภิฏฐันไม่ควรลูกข่านอาอสนะ คนท่อนหนังไปเสีย. ไม่ควรลูกขื่น
ด้วยคิดว่า "จะพิงทำอย่างไร ? เราจักถามพระอาจารย์" หรือว่า "บัด
นี้กรรมฐานของเราเสื่อมแล้ว." จริงอยู่ เมื่อเธอให้อธิษฐานกำเริบเดินไป