การปฏิบัติสมุจจ์ปากกาสำหรับกุมล - ภาค ๓ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 62
หน้าที่ 62 / 217

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เน้นการอธิบายการปฏิบัติสมุจจ์ปากกา สำหรับผู้สนใจในหลักพุทธธรรม โดยอธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องซึ่งช่วยในการพัฒนาจิตใจให้มีความสงบและการบรรลุธรรมที่แท้จริง มีการพูดถึงการแยกระดับของจิต ซึ่งเกิดจากอำนาจของการหยุดใจและการสังเกตอารมณ์รวมถึงการบรรลุความชำนาญในธรรม โดยมีการอ้างอิงถึงพระโคตมตะเรทั้งหลายที่เคยกล่าวถึงธรรมที่สำคัญ การทำความเข้าใจในเรื่องนี้จะช่วยให้ผู้ศึกษาได้รู้ลึกรู้จริงถึงธรรมที่จะนำไปสู่การเติบโตทางจิตใจและจิตวิญญาณของตน. ข้อมูลเพิ่มเติมสามารถศึกษาจากบันทึกในวิสาสต์ ชื่อว่าสุทัศธรรมเกิด.

หัวข้อประเด็น

-ปฏิบัติสมุจจ์ปากกา
-อภิธรรม
-จิตวิญญาณ
-การพัฒนาธรรม
-ความสงบในจิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฏิบัติสมุจจ์ปากกาสำหรับกุมล ภาค ๓ - หน้า 61 แรกเรียกว่า บริกรรมและอุปจาระ ที่ ๒ เรียกว่า อนโลม ที่ ๓ เรียกว่า โคตรกุ ที่ ๔ เรียกว่า อัปปานิจจ. จริงอยู่ ชนะครองที่ ๔ เพียงเท่านั้น บางที่ ที่ ๕ ย้อมเป็นไป ไม่ถึงครองที่ ๖ หรือที่ ๓ เพราะอาสันนังกังค์ (วงค์ใกล้ลับปาน) ตกไป ส่วนพระโคตมตะเระ ผู้ชำนาญอภิธรรม กล่าวไว้ว่า "กุศล-ธรรมทั้งหลาย ย่อมเป็นธรรมที่กำลัง โดยอาเสวนาปัจจัย; เพราะฉะนั้น ชนะย่อมถึงที่ ๖ หรือที่ ๓." คำนั้นถูกคัดค้านในอรรถกถาทั้งหลาย ในชวนจิตหลานนั้น จิตที่เป็นบูรพากา เป็นกามาวจร, ส่วนอัปปนาจิต เป็นรูปาวจร. ปฏมาน ซึ่งลอองค์ ๕ ประกอบด้วยองค์ ๕ สมบูรณ์ ด้วยลักษณะ ๑๐ มีความงาม ๓ ย่อมเป็นอันพระโโยค้บรรลุปแล้ว โดยนัยดังกล่าวมานั้นนี้. เธอยังงองค์คามทั้งหลาย มียุบเป็นตันให้สงบ ราบตามในอรามนั้นนั้นนเอง ย่อมบรรลุความที่ ๓๔. และที่ ๕. และด้วยเหตุมีประมาณเพียงนี้ เธออ้อมเป็นผู้นำที่สุดแห่งภาวนา ด้วยอำนาจแห่งการหยุดไว้. ในอธิการนี้ มีสังเขปกว่านี้ ส่วน นักศึกษา ผู้ต้องการความพิสดาร พึงอธิบายจากปกรณ์วิสาสต์ ชื่อว่าสุทัศธรรมเกิด. ส่วนในกายปฏิสนธิ นี้ ยังกล่าวผู้บรรลุจุดตามน แล้วอย่างนั้น มีความประสงค์ที่จะเจริญธรรมฐาน ด้วยอำนาจการกำหนดและการเปลี่ยนแปลง แล้วบรรลุมาคหมดดง กระทำมานั้นนั้นแนแ ให้ถึงความชำนาญ ( วจี ) ด้วยอาการ ๕ อย่าง กล่าวคือ อาวัชฌนะ กรำพึง สมาปชนะ กรเข้า อธิษฐาน กรังใจ มูจฉนะ การออก และ ป้อจเจกบญฺ การพิจารณา แล้วกำหนด รูปและอรูป
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More