ความเข้าใจเกี่ยวกับภิกษุและหญิงหมัน ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 132
หน้าที่ 132 / 217

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับภิกษุที่มีผลต่อหญิงหมันและการประพฤติปฏิบัติ ในกรณีที่เกิดความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการตั้งครรภ์และกรรมที่อาจส่งผลต่อลูกในครรภ์ โดยเฉพาะการวางกรณีของหญิงหมันที่ไม่สามารถตั้งครรภ์ได้ แสดงให้เห็นถึงความซับซ้อนของกรรมและการกระทำที่มีผลนำไปสู่ความเป็นไปในชีวิต และการจัดการกับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น เช่น การแพทย์ และความเข้าใจกับคำถามว่าทำไมภิกษุถึงทำให้หญิงหมันมีบุตรตายได้

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของหญิงหมัน
-การกระทำของภิกษุ
-ผลกระทบทางกรรม
-การแพทย์และกรรมาที่เกี่ยวข้อง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(๓) - ปฐมมัณฑปสถากกแปลภาค ๑ หน้า 131 ปริยาย ในมนุษย์สวรรคะ ย่อมไม่มีสิ เพราะเหตุนี้ เมื่อภิกษุพูดว่า "ฉันชื่อว่าครรภ์รัฏฐ์แล้ว จะตกไปเอง" หญิงมีครรภ์นั้น จริงเอง หรืองานให้ผู้อื่นรีดให้ก็ได้ตาม ไม่มีความลักลั่น เป็นปรากฏ ทีเดียว แม้ในเรื่องนามครรภ์ให้หรือกินดังนี้เหมือนกัน [ เรื่องภิกษุทำให้หญิงหมันมีบุตรตาย ] ในเรื่องหญิงหมัน มีวิจารณ์ดังนี้ :- หญิงผู้ไม่ตั้งครรภ์ ชื่อว่า หญิงหมัน ธรรมดาหญิงไม่ตั้งครรภ์ ย่อมไม่ได้ แต่ครรภ์มนั้นที่หญิง ตนได้ตั้งขึ้นแล้ว ไม่ค้างอยู่ ขอแก่นั้น ท่านกล่าวหมายเอาหญิงนั้น ได้ ยินว่า ในครรภ์มีรูดู หญิงหญิงทุกข์พาว ย่อมตั้งครรภ์ แต่ศุลวิปากมา ประกอบเข้า แก่พวกสัตว์ผู้เกิดในท้องของหญิงที่เรียกกันว่า "เป็นหมัน" นี้ สัตว์เหล่านั้น คือปลุกสัญญณ์ด้วยฤคลิวิภวาเพียงเล็กน้อย ถูกลุกสา วิบากครองบ้าง จึงพินาศไป จริงอยู่ ในขณะปลุกสัญญาใหม่ ๆ นั่นเอง ครรภ์ตั้งอยู่ไม่ได้ ด้วยอาการ ๒ อย่าง คือด้วยลมหรือสัตว์เล็ก ๆ เพราะ กรรมานุภาพ ลมพัด (ครรภ์) ให้แห้งแล้ว ทำให้นอกธรณีไป สัตว์เล็ก ๆ ทั้งหลาย ก็ดิน (ครรภ์) ทำให้นอกธรณาไป แต่เมื่อ แพทย์ประกอบเสร็จ เพื่อจัดลงและพวกสัตว์เล็กนั้นแล้ว ครรภ์ก็พิง ต้องอยู่ได้ ภายในนั้น ไม่ได้ปรุงสัสขนานั้น ได้ให้สัสที่ร้ายแรง ขนานอื่น นางได้ตายไป เพราะสัสขนานนั้น พระผู้พระภาคเจ้ ได้ทรงบัญญัตุทุกกุฎไว้ เพราะภิกษุปรุงสัส แมในเรื่องที่ ๒ ก็เช่นนี้ เหมือนกัน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More