กรรมฐานและการปรากฏของสัญญา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 58
หน้าที่ 58 / 217

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการศึกษาที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับกรรมฐานและการปรากฏแตกต่างของสัญญา การที่กรรมฐานมีรูปแบบต่างๆ และการแสดงออกของจิตที่มีต่อสัญญา การฝึกสมาธิที่สร้างความแตกต่างในประสบการณ์ทางจิตวิญญาณนั้นสำคัญในการพัฒนาจิตใจให้มีความลึกซึ้ง ความเข้าใจในกรรมฐานนี้สามารถนำไปสู่การเข้าถึงการรู้แจ้งในชั้นสูงของการปฏิบัติธรรม โดยระบุตัวอย่างที่แตกต่างกันในรูปแบบของการเห็นและประสบการณ์ เช่น การเห็นพระสุรเสียงที่แตกต่างกัน นำไปสู่การทำความเข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นภายในจิต.

หัวข้อประเด็น

- การศึกษาเกี่ยวกับกรรมฐาน
- สัญญาและการปรากฏ
- ความแตกต่างของการเห็นในจิต
- สมาธิและอารมณ์ในกรรมฐาน
- ประสบการณ์ทางจิตวิญญาณ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(คง) - ปฐมสมุจฉาสำหรับแกะเปล่า ค. - หน้าที่ 57 และดูเส้นไม้แกน, บางรูปปรกฎเป็นจุดสายสว่างวาดที่ยาว จุดพวง แห่งดอกคำ และจุดปลิววุ่นไฟ. บางรูปดูไบแมลงมุมที่ว่าง จุด ชอกลับมม จุดดอกบุมม จุดอรรถ จุดฉัตรพระจันทร์ และจุด มลทยพระอาทิตย์เน่านั้น. ก็แล้ว กรรมฐานนี้เป็นอันเดียวกันแท้ๆ แต่ปรากฏโดยความ ต่างกัน เพราะมีสัญญาณต่างกัน เหมือนบรรทกบุกหลายรูปด้วยกัน นั่งสายขนพระสุรเสียง เมื่อกิจกรรมหนึ่งพูว่า " พระสุรนี้ ย่อม ปรากฏแก่พวกท่านเป็นเช่นไร ? " รูปหนึ่งพูว่า " อือมปรากฏแก่ผม เป็นเหมือนเม่นน้ำไหลจากภูเขาใหญ่," อีกรูปหนึ่งพูว่า " ย่อมปรากฏ แก่ผม เป็นเหมือนรุกชาตที่พบนพร้อมด้วยอาระ คือผลไม้ ซึ่งมี ร่วงเรี่ยราด สมนุษย์ด้งดิ่ง." จริงอยู่ พระสูตรของเธอหานั้นก็เป็นสูตร เดียวกันนั้นเอง แต่ปรากฏโดยความเป็นของต่างกัน เพราะมีสัญญาณ ต่างกันนั่น ความจริง กรรมฐานนี้เกิดแต่สัญญา มีสัญญาเป็น ต้นเหตุ มีสัญญาเป็นแดนเกิด; เพราะฉะนั้น พึงทราบว่า " ย่อมปรากฏ โดยความต่างกัน เพราะมีสัญญา ต่างกัน" [ ธรรม ๓ อย่างมีบริบูรณ์กรรมฐานจึงถึงอุปปาท ] ก็ระลามหายใจเข้า หายใจออก และมีดังนี้ จิตที่มีสมาหายใจ เข้าเป็นอารมณ์ ก็อย่างหนึ่งต่างหาก จิตที่มีสมาหายใจออกเป็นอารมณ์ ก็อย่างหนึ่ง จิตที่มีนิมิตเป็นอารมณ์ ก็อย่างหนึ่ง. จจริงอยู่ กรรมฐาน ของภิกขุปมิธรรม ๓ อย่างนี้ ย่อมไม่ถึงอปานา ไม่ถึงอุปาวะ ส่วน กรรมฐานของภิกษุผู้มีธรรม ๓ อย่างนี้ ย่อมถึงอปานาและอุปปามะด้วย สมมติ้งคำที่ท่านพระธรรมเสนาบดีสารูกรมกล่าวไว้ว่าร
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More