ปฐมสัมผัสสักกะเภา ภาค 3 - หน้า 72 ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 73
หน้าที่ 73 / 217

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้พูดถึงความเข้าใจในกรรมที่ดีและกรรมที่ไม่ดี โดยชี้ให้เห็นว่าบุคคลที่มีกรรมดีจะถือว่าตนมีคุณธรรม และในทางกลับกันกรรมที่เป็นบาปจะไม่มีบทบาทในชีวิตของเขา นอกจากนี้ยังกล่าวถึงความกลัวที่เกิดขึ้นในสัตว์ที่มีกรรมไม่ดี และการประพฤติที่เป็นไปในเชิงดีที่สามารถช่วยให้พ้นจากกรรมอันเลวร้ายได้ องค์ประกอบเหล่านี้มีความสำคัญในการเข้าใจในธรรมะและการพัฒนาตนเองในเชิงลึก.

หัวข้อประเด็น

-กรรมและความรัก
-ธรรมะและการพัฒนาตนเอง
-การเข้าใจกรรมดีและกรรมไม่ดี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (คม) - ปฐมสัมผัสสักกะเภา ภาค 3 - หน้า 72 " เอวอุจิภาวท" เป็นอาจิ บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปฐมฤทธิจิต มีความว่า ผู้มีจิต รักใคร่ตัวฉันเท่านั้น, ธรรมว่า " เป็นผู้มีความรักมาก คือความ เพ่งเล็ง." สองบทว่า มรรควรรณดิ ถ้วนสม มีความว่า เราเองก็โทษ ในความเป็นอยู่ แล้วพรากคุณ คือแสดงอาการสิ่งแห่งความตาย. ในบทว่า " ตกอุโย" เป็นอาจิ มีเนื้อความเฉพาะบท ดังต่อไปนี้:- กรรมอันงาม คือสะอาดอันทนทำแล้ว; เพราะเหตุนี้นั่น ท่านยอมเป็นผู้ชื่อว่ามีกรรมงามอันทำแล้ว. อันนี้ กุล คืออกรรม อันหาโทษไม่ได้ อันท่านทำแล้ว; เพราะเหตุนี้ ท่านชื่อว่าผู้มีคุณ อันทำแล้ว ความเป็นผู้ดาล กล่าวคือความกลัวอันใน ย่อมเกิดขึ้นแก่ สัตว์ทั้งหลาย ในมิอ้อมธนกลางEntเข้า. เครื่องตันทน คือกรรม เครื่องป้องกันจากความเป็นผู้ลาดนั้น อันท่านทำแล้ว; เพราะเหตุนี้นั่น ท่านชื่อว่าผู้มีกระแสต้านทานจากความเป็นผู้ลาดอันกระทำแล้ว. กรรม ที่เป็นบาป คือความ อันท่านมีได้ทำแล้ว; เพราะเหตุนี้นั่น ท่านชื่อว่าผู้ไม่ไดทำป.กรรมของผู้ละโมบ คือกรรมทุจริน ได้แกร์กรรมเครื่อง เป็นผู้กลิสด อันท่านมิได้ทำไว้; เพราะเหตุนี้นั่น ท่านชื่อว่า ผู้มิได้ทำกรรมที่หยาบช้า. คำว่า "ท่านมีกรรมนามได้ทำแล้ว เป็นดังนี้ เราทั้งหลายย่อมกล่าวเพราะเหตุไร ? เพราะกรรมงามแม่ทุกประกอรภัน ท่านทำแล้ว, กรรมอันเป็นบาปแม้ทุกประกอรภัน ท่านมิได้ทำแล้ว; เพราะ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More