ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค(คัด) - ปฐมสัมปันดาสิกาแก้เปล่า ค - หน้าที่ 81
พิณาคไปแห่งฤทธิ์ พร้อมกับการเบี่ยงเบนสัตว์อื่น เหมือนการแตกแห่ง
หม้อน้ำ ที่เขาโยนขึ้นไปบนเรือที่ถูกไฟไหม้กันนั้น คำที่กล่าวมานั้น
เป็นเพียงความปรารถนาของอิทวิอาจารย์เหล่านั้นเท่านั้น เพราะ
เหตุไร ? เพราะไม่สมด้วย กุสดัตถะ เวทิตตะคะ วัตถิตตะคะ
และปริตัตติกะะ ข้อนี้อย่างไร ? กรัชอาวามนามยุกธินี ใน
กุสดัตตะ คเป็นทั้งกุสดัตตะ เป็นทั้งอภยกกุตตะ, ปราณติบาตเป็นอุคตะ
อุคตะ, ในวาทิตตะยะ สัมปุตถด้วยฤทนนสุข, ปาณติบุตถ้วยสัมปุตถด้วย
ทุกข์, ใบวักกัตตะ เป็นอิวกกอวิธีระ, ปาณติบาทเป็นสวิกกัตตะ-
สวิกกะ, ในปริตตัตติกะ เป็นมหากตะ, ปาณติบาทเป็นปริตตะ.
[ อธิบายวัตถุที่เป็นเครื่องประหาร ]
พิณฑารวิจฉันนี้กล่าว " สุตกากัง วาสุกา ปริยายถย"
นี้ คัดต่อไป:- เครื่องประหารใด ย่อมนำเสีย, เหตุนี้แล้ว เครื่องประหาร
นั้น ชื่อว่า สิงห์เสีย. ถามว่า "นำเสียจะอะไร ?" ตอบว่า "นำเสีย
ซึ่งชีวิต." อีกอย่างหนึ่ง เครื่องประหารใด อันบุคคลพึงนำไป, เหตุนัน
เครื่องประหารนั้น ชื่อว่าสังอุบลบุคคลพึงนำไป. อธิบาว่า "เครื่อง
ประหารอันบุคคลพึงจัดเตรียมไว้" ศิลาศรนัยด้วย เป็นสิ่งนำเสียด้วย;
เหตุนี้ ชื่อศตรอันนำเสีย.
บทว่า อสูส ได้แก่ กายของมนุษย์.
บทว่า ปริยสงยู มีความว่า พิฆาตโดยการที่ตนจะได้.
อธิบายว่า "พิฆาตเตรียมไว้." ด้วยคำว่า " สุตกากัง วาสุกา ปริยายถย "
นี้ พระผู้พระภาคเจ้าทรงแสดงว่าประโยค. เมื่อจะถ่อเอาเนื้อความ