ความหมายของชีวิตในพุทธศาสนา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 203
หน้าที่ 203 / 217

สรุปเนื้อหา

ข้อความนี้กล่าวถึงบทบาทของสาวกและการเข้าใจในกรรมตามหลักพุทธศาสนา โดยมีการอ้างอิงถึงการเห็นและรับรู้ในพุทธธรรม รวมถึงการอธิบายเกี่ยวกับสัตว์และกรรมที่ส่งผลต่อการเกิดในชีวิตไม่ว่าจะเป็นการส่งเสริมด้วยญาณหรือทำกรรมที่เหลืออยู่ในอดีต การศึกษาความหมายต่างๆ นี้ช่วยให้เข้าใจภาพรวมของชีวิตและการกระทำในพุทธศาสนาได้ดียิ่งขึ้น สามารถติดตามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv.

หัวข้อประเด็น

-พุทธศาสนา
-กรรม
-จิตวิญญาณ
-การเกิด
-การดำเนินชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ปฐมมณฑลปสากลภาค ๑ - หน้าที่ 202 การประกอบเนื้อความดังต่อไปนี้ : - เพราะเหตุว่า แม้สาวกจักรู้ หรือ จับเห็น หรือจำทำอัดภาพเห็นปานนี้ ให้เป็นพยานได้; จะนั่น เราจึง ได้กล่าวว่า " ดูก่อนภิญจ์หลาย ? สาวกทั้งหลาย เป็นผู้มีญาณอยู่หนอ ดู่อนภิญจ์ทั้งหลาย ! สาวกทั้งหลายเป็นผู้มีญาณอยู่หนอ" ดังนี้. ข้อว่า ปุจฉพพฺเมเม โส ภิญฺญา สุตฺโธ ทิฏฺโฐ มีความว่า (พระผู้มีพระภาคเจ้า) ตรัสว่า "เราได้แทงตลอดสัพพัญญูณา ณ โพธิ์มณฑ์ ทำหน้าที่สัตว์ และภาพ คติ ธีติ และนิวาส หาปรามาจนได้ ในจักรวาลทั้งหลายหาประมาณมิได้ ให้ประจักษ์อยู่ ได้เห็นสัตว์วันนี้ แล้วในกาลก่อนเถอะ." บทว่า โคณฑตฺโต ความว่า เป็นสัตว์ผู้มากโคนทั้งหลายแล้ว ปล่อยเนื้อออกจากกระดูกปล่อยชีวิต. หลายบทว่า ตุลสา กมฺมสุ วิภาวเสสน ความว่า แห่ง อปรปรมณียกรรมอันเดตนาทั้ง ๆ ประมาณแล้วนั้นแหละ จริงอยู่ บรรดาเจตนาเหล่านั้น ปฏิสนธิโปรษนะตนเองให้กึ๋นขึ้นแล้ว เมื่อ วิบากแห่งตนดวงนั้น สั้นไปแล้ว, ปฏิสนธิเปนต้น ย่อม บังเกิดอีก; เพราะทำกรรมที่เหลือ หรือกรรมมินดให้เป็นอารามณ์ เพราะเหตุนี้ ปฏิสนธินั้น ท่านจึงเรียกว่า " วิวาทที่เหลือแห่งกรรมนัน นันเอง " เพราะมีส่วนเสมอด้วยกรรม หรือเพราะมีส่วนเสมอด้วย อารมณ์ !! ก็สัตว์นี้เกิดขึ้นแล้วอย่างงี้. เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาค จึงตรัสว่า "ด้วยอิวากยังเหลืออยู่แห่งกรรมนันนั้นเอง." ได้ยาว่า ในเวลาลเคลื่อนจากนรก สัตว์นั้น ได้มีมิติก คือลงกระดูกแห่งโคทั้งหลาย อัญญูกำไมไม่มีกเนื้อ สัตว์นั้น เมื่อจะทำกรรมมัน แม้ปกติให้ เป็นอุปปรากฏญาณูญแบบทั้งหลาย จึงเกิดเป็นอัตภูติสงคลปลวด.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More