คำสอนเกี่ยวกับการแสดงตนในพระพุทธศาสนา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 161
หน้าที่ 161 / 217

สรุปเนื้อหา

เนื้อความนี้กล่าวถึงการแสดงตนของพระภิกษุในพระพุทธศาสนา โดยอธิบายถึงการประกาศและการแสดงออกอย่างบริสุทธิ์ในธรรม โดยเฉพาะคำว่า "อญฺญฺญฺญา สนฺต๎" ซึ่งกล่าวถึงการมีอยู่ของความบริสุทธิ์ภายในของผู้ปฏิบัติธรรม นอกจากนั้นยังมีการเปรียบเทียบการแสดงตนของฟิกษุด้วยอาการคล้ายพุ่มไม้เพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น สถานการณ์และการแสดงตนเหล่านี้อาจมีผลต่อนักบวชเองและผู้ที่มองเห็นในสังคม ทำให้ต้องพิจารณาถึงความหมายที่ลึกซึ้ง.

หัวข้อประเด็น

-การแสดงตนในพระพุทธศาสนา
-ความหมายของคำสอน
-อาการต่างๆ ในการประกาศ
-การบริสุทธิ์ทางธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ไม่พึงเห็นเนื้อความแห่ง โอฬ ศพั้นั้น อย่างนี้ว่า " จุมเห negra ภูโล แปลว่า อันท่านทั้งหลายฉันแล้ว" ดังนี้. [ แก่ธรรมณีกากา ] บัดนี้ พระผู้พระภาคเจ้า เมื่อจะทรงทำเนื้อความนั้นแล ให้แจ้งขึ้นโดยอาศา จึงตรัสพระคาถาว่า " อญฺญฺญฺญา สนฺต๎" เป็นต้น. บรรดาท่านนั้น สงวนว่า อญฺญฺญา สนฺต๎ คำว่า อัน มีอยู่โดยอาการอื่น ซึ่งมีภายมาจาจไรบมิรุติเป็นต้น. บทกถาว่า อญฺญฺญา โย ปวฑฺเหย ความว่า ภิกษุรูปใด พิสูจน์ ประกาศด้วยอาการอย่างอื่น ซึ่งมีกายมาจาจไรบมิรุติเป็นต้น คือให้ หนอันเข้าใจอย่างนี้ว่า " เราเป็นผู้บริสุทธิ์อย่างยิ่ง โลกุตตรธรรมอธิบาย ภายในของเรา." ก็แล้ว ครั้งประกาศแล้ว (แสดงตน) ดูพระอรหันต์ ฉันโภชนะที่เกิดขึ้น เพราะการประกาศนั้น. บทว่า " นิคจฺจ" ในสองบทาว่า " นิคจฺจ กิตฺตสมฺส" ฯลฯ นี้แปลว่า อลองา คือแสดงตนอันมีอยู่ โดยอาการอื่น ด้วยอาการอย่างอื่น ได้แก่แสดงตน ซึ่งไม่ใช่พุ่มไม้ และไม่ใช่ก้อนไม้เลย ให้เป็นเหมือนพุ่มไม้และเป็นเหมือนก้อนไม้ เพราะ เอากิ่งไม้ ใบไม้ และใบอ่อนเป็นต้น ปิดบังไว้. บทว่า กิตฺตสมฺส ความว่า ดูพระรานนกผู้ล่าง คือหลอกจับนก ตัวที่มาแล้ว ๆ ในป่า ด้วยมีความสำคัญว่า เป็นพุ่มไม้และก้อนไม้ แล้ว เลี้ยงชีวิตนะนั้น.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More