ความเข้าใจเกี่ยวกับพระอรหันต์ในภิกษุ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 198
หน้าที่ 198 / 217

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความเข้าใจเกี่ยวกับพระอรหันต์ในหมู่ภิกษุ และพิจารณาสถานะการเดินทางของภิกษุในกรณีต่างๆ โดยเน้นที่ข้อกล่าวอ้างและการไม่เกิดอาบัติในบางสถานการณ์ เช่น การเดินทางด้วยเหตุจำเป็นหรือเมื่อมีการลี้ภัยจากสถานการณ์ที่ไม่เหมาะสม นอกจากนี้ ยังพูดถึงการตั้งข้อกล่าวและความสำคัญในการปฏิบัติของภิกษุในศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-ความเข้าใจพระอรหันต์
-อาบัติในภิกษุ
-การเดินทางของภิกษุ
-การตั้งข้อกล่าว
-การปฏิบัติของภิกษุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(๑) - ปฐมมัณฑปสถากปลกภาค ๑ - หน้าที่ 197 ด้วยคิดว่า "ภิกษุทั้งหลาย จงเข้าใจว่าเป็นพระอรหันต์," ภิกษุนั้น เป็นปราชญ์ ส่วนภิกษุไดเดินเลยสถานที่นั้นไป ด้วยภิกษุของ อาจารย์และอูปะชามะก็คิด ด้วยภรณ์เช่นนั้นอย่างอื่น เพื่อจำจาการ หรือเพื่อประโยชน์แก่ตนและปริจารณก็ไม่ได้เป็นอาบัติแก่ภิกษุนัน ถ้าแม้นเมื่อภิกษุนัน เดินไปด้วยกิจอย่างนั้น ภายหลังอิฉาจากขึ้น ว่า "บัดนี้ เราจักไม่ไปในสถานที่นั้น, เพราะว่า ชนทั้งหลายจัก ยกย่องเราว่า เป็นพระอรหันต์ด้วยอาการอย่างนี้" ไม่เป็นอาบัติเหมือน กัน ฝายภิกษุใด สุงถึงสถานที่นั้นแล้ว ด้วยภรณ์เช่นบางอย่างแล้ว เป็นผู้ ส่งไปในอันอื่น ด้วยอานาจาร ไฟไปในกการสาธยายเป็นต้น หรือถูก โทษเป็นต้นใดติดตาม หรือเห็นเม็ดตั้งค่ำจบแล้ว มีประสงค์จะเข้าไป หลบฝน จิ้งจอกเลยสถานที่นั้นไป, ไม่เป็นอาบัติแก่ภิกษุนัน. แม้ภิกษุ ผู้นี้ด้วยอานาจารก็ไม่ต้องปราบ, แต่ย่อมต้องอาบัติด้วยการ เดินไปด้วยเท่านั้น. ภิกษุผู้นี้ ไปถึงสถานที่นั้นแล้ว ไม่ก่อน ไม่หลัง พร้อมด้วยพวกภิกษุปัจจันตั้งข้อกล่าวไว้ไม่ต้องอาบัติ. เพราะว่า ภิกษุ ทั้งหมด เมื่อเดินไปอย่างนั้น ยังรำพาญกันและได้แม้ทั้งหมด. แม้ว่า ภิกษุทั้งหลาย กำหนดสถานที่บ่งแจ้งจงบรรลุกาและโทษต้นไม้ เป็นต้น แล้วตั้งข้อกล่าวไว้โดยยืนเป็นว่า " พวกเรารู้กิญจุ้งผู้ยัง หรือเดินงกรมอยู่ในที่ว่าว่า "เป็นพระอรหันต์" หรือเอาดอกไม้วางไว้ โดยยืนเป็นนั้นว่า " พวกเราจักทราบภิกษุออทอป็อมหลานนี้แล้ว ทำการบูชา" เป็นพระอรหันต์." แม้ในข้อกล่าวรั้นว่า เมื่อภิกษุ ทำอยู่เหมือนอย่างนั้น ด้วยอานาจิจก็เป็นปราชญเหมือนกัน. แม้ถอุปกาสสร้างวิหารไว้ในระหวางทางดีดี ตั้งปัจจัยวิจรเป็นต้นไว้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More