ปฐมสัมผัสสำหรับกาย ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 35
หน้าที่ 35 / 217

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงการบรรลุความสงบของกายและจิต ผ่านการทำความเข้าใจเกี่ยวกับการหายใจและการจัดการกับความกระวนกระวายที่เกิดขึ้นในระหว่างการฝึกหัด ซึ่งเน้นถึงความละเอียดในลมหายใจและการให้ความสำคัญกับการกำหนดจิตใจเพื่อนำไปสู่การค้นหาความจริงในสิ่งที่มีอยู่. ยังมีการเปรียบเทียบกับการที่บุคคลต้องจัดการกับสภาพความหนักหน่วงเช่นการขึ้นจากภูเขา.

หัวข้อประเด็น

-กายและจิต
-การหายใจ
-ความกระวนกระวาย
-การค้นหาความสงบ
-การกำหนดจิตใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(ค) - ปฐมสัมผัสสำหรับกาย ภาค - หน้า 34 ยังมีความกระวนกระวาย ยังหยาบ เมื่อกายและจิตซึ่งเป็นของหยาบ ยังไม่สงบแม้สมหายใจเข้าและลมหายใจออก ก็เป็นของหยาบ คือเป็นไป เกินกำลัง ญาติไม่พอหายใจ ต้องยืนหายใจเข้าไปข้าง หายใจออกข้างทาง ปาก ต่อมือต่อ กายก็ดี จิตก็ดี เป็นของอันเธอกำหนดแล้ว, เมื่อ นั่น กายและจิตนั่นจึงเป็นของสงบระงับ ครับเมื่อกายและจิตนั่นสงบ แล้ว ลมหายใจเข้าและหายใจออกอ่อนเป็นไปตามละเอียด คือเป็นสภาพ ถึงการที่จะต้องค้นหา " มีอยู่หรือไม่หนอ " เปรียบเหมือนลมหาย ใจเข้าและหายใจออก ของบูรพผู้ลงจากภูเขา หรือผู้ปลดของหน้ากล จากศีรษะแล้วนิ่งอยู่ ย่อมเป็นของหยาบ ญูมไม่พอหายใจ ต้องยืน หายใจเข้าและหายใจออกข้าง หายใจออกข้างทางปาก, ต่อเมื่อใด เขาบรรเทา ความกระวนกระวายนันเสีย อาบและดื่มน้ำแล้ว เอาผ้าปิดภูมิที่ หน่ออกนอทที่ร่มไม่เย็น ฯลฯ, เมื่อฉัน ลมหายใจเข้าและหายใจ ออกนั่นของเขา จึงเป็นของละเอียด คือถึงการที่จะต้องค้นหา " มีอยู่หรือไม่หนอ " แม้นนั้น. ในกาลก่อน คือในเวลากฐฑูมิ ยังไม่ได้กำหนดกฐฑรรษา กายและจิต ฯ ฯ คือถึงอาการที่จะต้องค้น หา " มีอยู่หรือไม่หนอ " ฉัน่นั้นเหมือนกัน. ข้อฉันเป็นเพราะเหตุ ไร ? เพราะความจริงเป็นอย่างนั้น ในกาลก่อน คือในเวลาที่เธอยัง มิได้กำหนดกฐฑรรษา การกำนี้ การประมวลมา การมลิการ และ การพิจารณาว่า " เราจะระงับกายสังขารส่วนหยาง ฯ " ดังนี้ หามี แก่เธอนั้นไม่. แต่ในเวลาที่เธอกำหนดแล้ว จึงมีได้. เพราะเหตุนัน ๑. คำพูว่า โอพริกา ให้แก่เป็น โอพริกา เป็นบทธคุณของกายและจิต วิสุทธิธรรม ภาค ๒/๒ ก็เป็นอย่างนี้.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More