การวิเคราะห์ทางพระพุทธศาสนา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 95
หน้าที่ 95 / 217

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความคิดเห็นเชิงลึกเกี่ยวกับการกำหนดโอกาสในบริบทของภิกษุผู้สั่ง โดยชี้ให้เห็นว่าความสามารถในการพิจารณาโอกาสหมายถึงการรักษาความถูกต้องภายในพระธรรม และอธิบายว่าทำไมภิกษุผู้สั่งจึงไม่ต้องพันตัวเมื่อมีการกำหนดโอกาสไว้ชัดเจนเพื่อหลีกเลี่ยงความทุกข์ที่เกิดจากการสั่งที่ไม่เหมาะสม การอธิบายนี้เชื่อมโยงกับคำสอนภายในมหาอรธาถาและความสำคัญของการปฏิบัติในฐานะบันดิติงอย่างมีสติ.

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์การกำหนดโอกาส
-ภิกษุและการสั่ง
-หลักธรรมในมหาอรธาถา
-ความสำคัญของการอธิบายความไม่อึดอี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค(คอ) - ปฐมสนับสนากาแปล ภาค ๓ - หน้า ที่ 94 นี้," สำหรับภิกษุผู้สั่ง เป็นทุกข์ ภิกษุผู้น่าสัง สั่งหมายเอาตนเอง ภิกษุผู้สั่งอภินนธ์ มาถึงนี้ ถามว่า "เพราะเหตุไร ?" แก่ว่า "เพราะไม่ได้กำหนดโอกาสไว้" แต่ภิกษุผู้สั่ง แม้เมื่อสิ่งหมายเอาตนเอง ก็ทำนองโอกาสไว้ว่า "ท่านงฆมบุคคลชื่อเห็นปานนี้ ซึ่งนั่งอยู่บนอาสนะพระเถร หรือออนนาสนะพระ มัชฌิมะ ในที่พักกลางคืนหรือที่พักกลางวัน ชื่อโบ้นไออกตาย," แต่ในโอกาสนั้น มีภิกษุอิ่นนั่งแทนอยู่, ถ้าภิกษุผู้สั่ง ม่าithikผู้มานั้นอยู่นันตาย, ภิกษุผฺู่กา ย่อมไมพัน (จากอาณัติ) แน, ภิกษุผูสั่งก็ไม่พัน ถามว่า "เพราะเหตุไร ? " แกว่ "เพราะได้กำหนดโอกาสไว้," แต่ภิกษุผู้สั่ง ยมาดโอกาสที่กำหนดไว้, ภิกษุผูสั่งย่อมทัน (จากอาณติ) น่อต้องอธิบายนี้ พระอรธาถาวรกล่าวไว้เป็นหลักฐานดี ในมหาอรธาถา; เพราะฉะนั้น ความไม่อึดอีเพื่อในนนนี้ บันดิติงไม่ควรทำ จะนี้แล. อาณติคิดปิโยคถก ด้วยอำนาจว่ากว่าอธิฏฐาน จบ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More