การพิจารณาเห็นในใจขั้นธ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 70
หน้าที่ 70 / 217

สรุปเนื้อหา

อนิจจานุปัสสนา คือ การพิจารณาเห็นในใจเกี่ยวกับความไม่เที่ยง และวิราคานุปัสสนา คือ การคลายความกำหนดในการหายใจเข้าและออก เพื่อให้เกิดความเข้าใจในสัจธรรมและการเข้าถึงพระอริยะ ด้วยการพิจารณาว่าสิ่งทั้งหลายไม่จีรัง สอนให้บัณฑิตทำความเข้าใจและปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามหลักธรรมของพระพุทธเจ้า เช่น ความสะอาดจิต การปฏิบัติสัจจะ และการสำเหนียกเพื่อให้เกิดความรู้แจ้ง โดยเฉพาะในการหายใจเข้าออก.

หัวข้อประเด็น

-อนิจจานุปัสสนา
-วิราคานุปัสสนา
-พระพุทธศาสนา
-การพิจารณาเห็น
-ความไม่เที่ยง
-การคลายความกำหนด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (คง) - ปฐมสมันต์ปลาสำหรับแปลง คำ ค - หน้า 69 ที่ชื่อว่า อนิจจานุปัสสนา ได้แก่ การพิจารณาเห็นในใจขั้นธ ทั้งหลาย มีรูปเป็นต้นว่า "ไม่เที่ยง" ด้วยอำนาจแห่งความเป็นของ ไม่เที่ยงนั้น. ที่ชื่อว่า อนิจจานุปัสสนา ได้แก่ พระโภคาวารู้ผู้ประกอบด้วย อนุปัสสนานั้น เพราะเหตุนี้ พระโภคาวารู้เป็นแล้วอย่างนี้เข้าใจ และหายใจออกอยู่ บัณฑิตพึงทราบในอธิวิธิว่า " ย่อมสำเหนียกว่ 'เราจักพิจารณาเห็นไม่เที่ยง หายใจเข้า หายใจออก."' ส่วนวิราคณะ ในบทว่า " วิราคานุปัสสนา" นี้ มี ๒ อย่าง คือ ขวิราคะ คลายความกำหนด คือความสั้นไป อัญจันทวิราคะ คลายความกำหนดโดยส่วนเดียว ๑ บรรดาวิราคะ ๒ อย่างนั้น ความ แตกดับไปชั่วแฉะแห่งสังวรทั้งหลาย ชื่อว่า ขวิราคะ พระน pivatha ชื่อว่า อัญจันทวิราคะ วิปัสสนาและมรรคที่เป็นไปด้วยอานนำแห่งการ เห็นวิราคะทั้ง ๒ อย่างนั้น ชื่อว่า วิราคานุปัสสนา ( การพิจารณา เห็นการคลายความกำหนด ). พระโภคาวารู้เป็นผู้ประกอบด้วยอนุปัสสนา แม้มังก ๒ อย่างนั้น หายใจเข้าและหายใจออกอยู่ บัณฑิตพึงทราบว่า " ย่อมสำเหนียกว่่า เราจักพิจารณาเห็นวิราคะ หายใจเข้า หายใจออก." แม้นบวกว่า นิรโฐานุปัสสนี มีน้อยเหมือนกันนี้. ปฏิบัติสัจจะ ( ความสะอาดจิตอุโบสถ ) แก่นบว่า " ปฏิญาณส ลูกานุปัสสนี" นี่นี่ ๒ อย่างคือ ปรีอาจาปฏิสนธิสัจจะ ความสะอาด คือความเสียสละ ๑ ปักขันทปฏิสนธิสัจจะ ความสะอาด คือความ แสนไหลไป ๑. การพิจารณาเน้น คือความสะอันนั้นเอง ชื่อว่า ปฏิ- นิสสัจฉนา ปว่า " ปฏิสนธิสกุปัสสนา " นั้น เป็นชื่อ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More