อานาปนสติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 56
หน้าที่ 56 / 217

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงการเจริญอานาปนสติกรรมฐานที่สำคัญในพระพุทธศาสนา ซึ่งสติและปัญญามีบทบาทอย่างสำคัญในการปฏิบัติกรรมฐานนี้ โดยอธิบายถึงควรตั้งมิตรในการหายใจเข้าและออก และแนวทางในการปราบสติร่วมกับการพัฒนาปัญญาเพื่อให้สำเร็จในการฝึกกรรมฐาน โดยไม่ต้องแสวงหาลมหายใจเข้าและออกนอกเหนือกว่าความปกติ

หัวข้อประเด็น

-อานาปนา
-การพัฒนาสติ
-กรรมฐานในพระพุทธศาสนา
-บทบาทของปัญญา
-การฝึกสมาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- ปฐมวันนี้พาสักกะเทวะ ภาค ๓ - หน้าที่ 55 มีมุ้งสั่นผ่านไป เพราะฉะนั้น เธอนั้น จึงควรตั้งมิตรไว้ว่า "ลม หายใจเข้าและหายใจออก ย่อมกระทบฐานชื่อนี้" ความจริง พระผู้มี- พระภาคเจ้า ทรงอส้ำนานอประโยชน์นี้แล้ว จึงตรัสว่า "คู่นอ ภิกษุทั้งหลาย เราไม่กล่าวการเจริญอาบนําสังสะกัสสะ" แก่ภิกษุลิ้มลิมลิ ไม่รู้สึกตัวอยู่.." จริงอยู่ กรรมฐานอย่างใดอย่างหนึ่ง ย่อมสำเร็จแก่ผู้มีสติ มี ความรู้เท่านั้น แม้ก็จริง ถึงกระนั้น กรรมฐานอย่างอื่น นอกจาก อานาปนสติกรรมฐานนี้ ย่อมปราบฤๅได้แก่ผู้ที่มีสติการอยู่ แต่ อานาปนสติกรรมฐานนี้เป็นภาระหนัก เจริญสำเร็จได้ยาก ทั้งเป็น ภูมิแห่งมนสิการ ของมรรคบุรษทั้งหลาย คือ พระพุทธเจ้า พระปัจเจก- พุทธเจ้าและพุทธดรท่านนั้น ไม่ใช่เป็นกรรมฐานต่ำด้วย ทั้งนี้ได้ เป็นกรรมฐานที่ สง่านตัวผู้ด้อวัลเสส เป็นกรรมฐานลงและละเอียด โดยประกายทีมงานบุรุษทั้งหลายย่อมทำไว้ในใจ เพราะฉะนั้น ในอานา- ปนสติกรรมฐานนี้ จำต้องปราบปราณสติและปัญญาอันมีกำลัง เหมือน อย่างว่า ในเวลาชุมนัสอดแน่นอึดอัด แม้ก็มีจำต้องปราบนออย่าง เล็ก แม้ดาวษร้อยในวงอึดอัด ก็จำต้องปราบนลิศละเอียดยิ่งกว่า ฉันใด, ในเวลาเจริญกรรมฐานนี้ ซึ่งเป็นเช่นกับผัสสก์เนื้อก็อึดอัด ก็ฉันนั้นเหมือนกัน สติส่วนเปรียบด้วยเข็มก็ดี ปัญญาก็สมุปุ๋ด้วย สติ there มีส่วนเปรียบด้วยค่ายร้อยวงเข็มก็ดี จำต้องปราบนาถให้กำลัง. ก็แล้ว ก็ภิกษุผู้ประกอบด้วยสติและปัญญานั้นแล้ว ไม่จำต้องแสวงหา ลมหายใจเข้าและหายใจออกนั่น นอกจากโอกาสที่สมฤดูต้องโดยปกติ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More