ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค- ปฐมสังคมปาสาทิกาแปล ภาค ๔ หน้าที่ 44
แห่งกรรมฐาน ชื่อว่า ลักษณะ มีคำอธิบายว่า "ความใคร่ครวญสัญฺญาแห่ง
สภาพกรรมฐานว่า "กรรมฐานนี้มีลักษณะอย่างนี้" ภิกษุเมื่อเรียน
กรรมฐาน ซึ่งมีสติ ๕ อย่าง นี้แต่เป็นของก็ไม่ลำบาก ทั้งไม่ต้อง
บรรดาอารยะให้ลำบาก เพราะฉะนั้น ควรเรียนอารยะให้บอกแต่ไม
สายยายตลอดเวลาเป็นอันมาก ครับเรียนกรรมฐาน ซึ่งสนิท ๕ อย่าง
นั้นแล้ว, ถ้าในวาระนั้น มีสติสนะเป็นดืนเป็นที่สบายไซร้ ควรอยู่
ในวาระนั้นนั้นแล้ว, ถ้าในวาระนั้น ไม่มีสติสนะเป็นที่สบายไซร้,
ควรบอกลาอาจารย์, ถ้าเป็นผู้มีปัญญาอ่อน ควรไปสะแระโยชน์หนึ่ง
เป็นอย่างยิ่ง, ถ้าเป็นผู้มปัญญากัล คิวกวไปแม๊ไกล (กว่านี้) ได้
แล้วเข้าไปยังสนะที่ประกอบด้วยองค์แห่งสนะ ๕ อย่าง เว้น
สนะที่มีโทษ ๑๙ อย่าง แล้วพักอยู่ในสนะนั้น ตัดปลิโพธ
หญุมหิมเสส, ฉันก็ถนาทรเสร็จแล้ว บรรเทาความอาหาร ทำิจักให้
รำเรืองด้วยการอนุสรณ์ถึงคุณพระรัตนตรัย ไม่หลงลืมกรรมฐานแม้นหนึ่ง
แต่ที่เรียนเอาจากอาจารย์ พึงมสิกอาณาปนาสติกรรมฐานนี้ ในวิสัย
แห่งตียปาราชิณี มีความสุขิเปนท่า นี้ ส่วนความพิสดาร นักศึกษา
ผู้ออกรากรรมฐานนี้ พึงรู้เอาจากครูอรญ์สื่ออุตม์ารคติ.
[ วาทีมสิกออาณาปนาสติกรรมฐาน ๘ อย่าง ]
ก็ในคำกล่าวเจ้ากว่า " พึงมสิกออาณาปนาสติกรรมฐาน
นี้" มีมสิกอวิธีดังต่อไปนี้:- คือ การนับ การตามผู การถูกต้อง
การหยุดไว้ การกำหนด การเปลี่ยนแปลง ความหมดจด และการเห็น
ธรรมาหลั่นแจ้ง.