การกำหนดลมหายใจและการพัฒนาจิต ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 51
หน้าที่ 51 / 217

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้พูดถึงการกำหนดลมหายใจเข้าออกไม่เป็นอารมณ์แห่งจิตดวงเดียว และการเข้าใจธรรม ๓ ประการเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการฝึกฝนจิต. เปรียบเทียบการรักษาจิตคล้ายกับการซ่อมเลื่อยที่ช่วยให้ฟันเลื่อยทำงานได้ดี การรักษาและพัฒนาจิตจะต้องมีวินัยและความเพียรเพื่อให้บรรลุผลตามที่ตั้งใจ.

หัวข้อประเด็น

-การกำหนดลมหายใจ
-ธรรม ๓ ประการ
-การพัฒนาจิต
-การฝึกสมาธิ
-ความเพียรในการฝึก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (ตอน) - ปฏิมา สมบัติสถากาแปล ภาค ๓ - หน้าที่ 50 และลมที่ออกไปข้างนอก ย่อมไม่เป็นหน้าที่ของภูมินี้ ฉันนั้นเหมือนกัน จะเป็นหน้าที่ที่เฉพาะแต่มีมาถึงช่องแล้ว ๆ เท่านั้น นี่เป็นข้อ อุปมาเหมือนคนรักษาประตู [ การกำหนดลมหายใจไว้รอบเหมือนเลื่อย ] ส่วนข้ออุปมาเหมือนเลื่อย ควรทราบจำแต่เนิ่นไป สมดั่งค่า ที่ท่านพระธรรมเสนาบดีสุรินทรกล่าวไว้ว่า " นิยม ลมหายใจเข้า และลมหายใจออก มีใช่ เป็นอารมณ์แห่งจิตดวงเดียว และเมื่ อบุคคลรู้ชอบธรรม ๓ ประการ ย่อมไม่ได้วาน ( ภาวนา ย่อมไม่สำเร็จ ) นิยม ลมหายใจเข้า และลมหายใจออก มีใช่เป็นอารมณ์แห่งจิตดวงเดียว และ เมื่อบุคคลรู้งธรรม ๓ ประการ ย่อมได้กวนนา " ถามว่า ' ธรรม ๓ ประการเหล่านี้ จะไม่เป็นอารมณ์แห่งจิตดวงเดียว และธรรม ๓ ประการเหล่านี้ จะไม่ปรากฏภูมิได้ จิตจะไม่ ดึงความฟุ้งซ่าน ประธาน ( ความเพียร ) ย่อมปรากฏ และพระโหลว่าวจะทำประโยคให้สำเร็จ ได้บรรลุผลโดยอย่างไร ? ' แก้ว่า " เปรียบเหมือนต้นไม้ที่เขาวางไว้บนภาคนี้เรียบเสมอ บูรณะเลื่อยเตี้ยนต้นไม้ นั้น, ลัดของบูรณะ ย่อมปรากฏ ด้วยอำนาจแห่ง พินเลื่อยที่ถูกต้นไม้, และเขาย่อมไม่ได้ไปถึงฟันเลื่อยที่ผ่านมาหรือ ผ่านไป ทั้งฟันเลื่อยที่ผ่านมาหรือผ่านไป จะไม่ปรากฏภูมิได้, ประธาน ( ความเพียรในการตัดต้นไม้ ) ย่อมปรากฏ และเขาย่อม"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More