การบัญญัติอติกันสิกาข ในพระพุทธศาสนา ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 72
หน้าที่ 72 / 217

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการบัญญัติอติกันสิกาขในพระพุทธศาสนา เน้นความสำคัญของการปล่อยชีวิตซึ่งกันและกัน มีความเห็นว่าเป็นเหตุอันส่งผลให้เกิดปาราชิก เมื่อพระพุทธเจ้าทรงให้คำสอนเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติที่ถูกต้องสำหรับภิกษุ โดยใช้คำเทศนาที่เน้นเรื่องความสำคัญของการประหยัดชีวิต เพื่อความสงบในจิตใจ.

หัวข้อประเด็น

- การบัญญัติอติกันสิกาข
- ความสำคัญของชีวิต
- พระพุทธเจ้าและสิกขาบท
- คำสอนเกี่ยวกับภิกษุ
- อนุสัญญาและการเกิดขึ้น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค (คำอธิบายประกอบการอ่าน) - ปฐมสัมผัสสากลแปลเป็น ภาษา ๆ 71 ประชุมสงฆ์ทรงบัญญัติอติกันสิกาขาบท ก็คือว่า “อดิโภ ภาวา” เป็นต้น มีความสงบสงัดต่อไปนี้: พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงปลอบภิกขุหลายให้ใจ ด้วยอานาปานสติสมาธิอย่างนี้แล้ว ในลำดับนั้น ครรสให้ประชุมภิกขังคง เพราะเกิดเรื่องที่ภิกษุทั้งหลายปลดปล่อยชีวิตซึ่งกันและกัน อันเป็นเหตุอุให้ เกิดผล และเป็นเหตุอุให้แรกแห่งการบัญญัติอติกันสิกาขาบทนั้นแล้วตรัสสอบถามและทรงติเตียนแล้ว เพราะในการปลดชีวิตนั้น การปลด ชีวิตตนเอง และการใช้ให้คลาดคลิบผูกปล่อยชีวิตตน ย่อมไม่เป็น วัตถุแห่งปาราชิก; ฉะนั้น จึงทรงวันการปลดชีวิต ๒ อย่างนั้นเสีย ทรง ถือเอาการปลดชีวิตซึ่งกันและกัน อันเป็นวัตถุแห่งปาราชิกอย่างเดียว ทรงบัญญัติปราชิกสิกขาบท ตรัสพระพุทธเจ้า มีคำว่า “ อนึ่ง ภิกฺขาโฏ แกล้งพรากายมนุษย์ออกจากชีวิต” ดังนั้นจึง พระบาลนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า ไม่รำลึกว่า “ โมปุริสา” ตรงว่า “ ๓ ภิกขุ” เพราะภิกษุเหล่านั้น เลื่อยพระอรหบูบุคคล. [ ภิกษุอิพทิศดีพระธานคุณแห่งความตาย ] ครั้นเมื่ออติกันสิกาข อันพระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติให้มัน ด้วยอำนาจแห่งความหมายด้วย ประกาฎะนี้แล้ว เรื่องพรรณนา คุณแห่งความตายแผ่นอีก ก็ได้เกิดขึ้น เพื่อประโยชน์แก่อนุสัญญา เมื่อแสดงความเกิดขึ้นแห่งเรื่องนั้น ท่านพระอุปาลิเก กล่าวว่า ดังว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More