ปฐมสมันตปสาธิกาาเปล ภาค ๓ - ความผิดผ่องและลักษณะของปฐมมนุษย์ ปฐมสมันตปาสาทิกา ภาค 3 หน้า 6
หน้าที่ 6 / 217

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงลักษณะต่างๆ ของปฐมมนุษย์ที่เกี่ยวข้องกับความผิดผ่อง โดยมีการอธิบายถึงลักษณะ ๔ ที่ทำให้ปฐมมนุษย์มีคุณธรรม ที่จะช่วยให้จิตเจริญเติบโตไปสู่ความเป็นธรรมชาติที่ถูกต้อง โดยระบุแนวทางของการเข้าใจถึงธรรมชาติแห่งจิตในอรรถที่แตกต่างกัน รวมถึงการปฏิบัติตนในด้านอุกสงค์และความทรงจำ พระพุทธเจ้าสรรเสริญและแสดงความสำคัญของคุณธรรมในการพัฒนาจิตในแนวทางที่ถูกต้องและชัดเจน

หัวข้อประเด็น

-ลักษณะของปฐมมนุษย์
-ความผิดผ่อง
-คุณธรรมในจิต
-การพัฒนาจิตให้เจริญเติบโต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค-ปฐมสมันตปสาธิกาาเปล ภาค ๓ หน้าที่ 6 เพราะเหตุนี้ ปฐมมนุษย์จึงกล่าวว่า 'เป็นคุณยาตามในท่ามกลางและถึงพร้อมด้วยลักษณะ ๓.' ความผิดผ่อง เป็นที่สุขแก่ปฐมมนุษย์ ที่สุดมีลักษณะเท่าไร ? ที่สุดมีลักษณะ ๔ ความผิดผ่องด้วยอรรถ คือความไม่กลับกลายแห่งธรรมทั้งหลาย ที่เกิดในมนุษย์นั้น ๑ ความผิดผ่องด้วยอรรถ คือความไม่กลับกลายทั้งหลาย มิตสิมาเป็นอันเดียวกัน ๒ ความผิดผ่องด้วยอรรถ คือความเทินิธรทั้งหลาย อันสมควรแก่สมาธิและอิจฉา ซึ่งเป็นธรรมไม่กลับกลาย และมีสมิโบนเดียวกันนั้น ๓ ความผิดผ่องด้วยอรรถ คือความเสพคุ้น ๑. ความผิดผ่อง เป็นที่สุดแห่งปฐมมนุษย์ที่สุดมีลักษณะ ๔ เหล่านี้ เพราะฉะนั้นปฐมมนุษย์จึงเรียกว่า 'เป็นคุณยาตามในที่สุด และถึงพร้อมด้วยลักษณะ ๔.' จิตที่ถึงความเป็นธรรมชาติ ๓ อย่าง มีความงาม ๓ อย่าง ถึงพร้อมด้วยลักษณะ ๑๐ ย่อมเป็นจิตถึงพร้อมด้วยวิตก ถึงพร้อมด้วยวิจาร ปีติ และสุข ถึงพร้อมด้วยการตั้งมั่นแห่งจิต ถึงพร้อมด้วยศรัทธา และเป็นจิตที่ถึงพร้อมวิริยะ สติ สมาธิ และปัญญา ด้วยประกาศนี้ ข้อว่า อาทิสุต อาทิสุต อุตสมาโมปติยา วณฺณ ตภาสติ มีความว่า พระผู้พระภาคตรัสสรรเสริญ คือครศาสนัง ทรงประ-กาศคุณแห่งอสุภมิต เพราะทรงทำการกำหนดอ้างถึงม ว่า "เป็นอย่างนั้นบ้าง เป็นอย่างนี้บ้าง." ครสอย่างไร ? ครสอย่างนี้ว่า "คู่อภิญญาทั้งหลาย ! เมื่ออีกภูมิใจตอบรับด้วยอสุภสัญญาอยู่เนือง ๆ จิต ย่อมออ หดเข้า หวนกลับจากความเข้าใจประดิษฐ์ธรรม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More