พระวิมลบัณฑิตฉบับแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 25 พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 27
หน้าที่ 27 / 243

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้เศรษฐีผู้นั้นเผชิญกับความโศกมากมายที่เหมือนกับภูเขาที่ทับถม ทำให้เขามีโทมนัส ซึ่งเป็นผลจากการกระทำที่ไม่ดี ในขณะที่พระผู้ทรงภาคตรัสถึงอุบายที่เกี่ยวกับการประทุษร้าย และผลกรรมที่จะตามมา นอกจากนี้เศรษฐียังคิดถึงแนวทางเพื่อจัดการกับปัญหาของเขา โดยการส่งมันไปยังสำนักงานของนายเสมียนเพื่อให้เกิดความเสียดาย และเห็นถึงความสำคัญของการกระทำที่ดีในชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-เศรษฐีและอารมณ์โศก
-ผลกรรมต่อการกระทำ
-การเรียนรู้จากความผิดพลาด
-อุบายใหม่ในการจัดการปัญหา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระวิมลบัณฑิตฉบับแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 25 พูดว่า "นาย ท่านอย่าทำเสียงดังไป, งานของท่านสำเร็จแล้ว." เศรษฐีผู้นั้น อันความโศกาเปรียบดังภูเขาใหญ่ท่วมทับแล้ว เสวย โทมนัส มีประมาณน้อย ดังบูกคลุ้มโจมตีศัตรูบุคคลผู้ไม่ ประทุษร้ายเช่นนั้น. [ทำร้ายผู้ไม่ทำร้ายตอบอย่างถึงฐานะ ๑๑] เพราะเหตุนัน พระผู้พระภาก็ตรัสว่า "ผู้ประทุษร้าย ในน่านผู้ไม่ประทุษร้าย ห า อาญามีได้ ด้วยอาญา ย่อมพลันถึงฐานะ ๑๑ อย่างใดอย่างหนึ่งที่เดียว คือ พึงถึงเวทนา อันหยาบ, ความเสื่อม, ความแตกแยกสิริระ, ความเจ็บป่วยอย่างหนัก, ความฟู่งฟื่นแหง จิต, ความบิดเบือนแต่พระราชา, ความกลัว คู่อย่างทรุณ, ความเสื่อมรอบแห่งหมู่ญาติ, ความย่อยยับแห่งโกณ, อีกประการหนึ่ง ไฟ ป่วยบามร้อนของผู้นั้น, เพราะความแตก แห่งกาย เขาผู้มีปัญญากราม ย่อมเข้าพิงนรก." [อุบายใหม่ของเศรษฐี] แม้ชั้นนัน เศรษฐี ก็ไม่อาจดูถูกนายใหสมะนันตรง ๆ อีกได้, ครุ่นคิดเองว่า "อย่างไร ? จึงจะมันเสียดาย." มองเห็น อุบายว่า "เราจัดส่งมันไปยังสำนักงานของคนเก็บส่วย (นายเสมียน) ใน ๑๐๐ บ้านของเรา ให้มันตายเสียดาย" ดังนี้แล้ว จึงเขียนหนังสือไป
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More