ข้อความต้นฉบับในหน้า
ปรโญค๒ - พระัรมปทัฬๅถูกผูๅแปล ภาค ๒ - หน้ๅที่ 190
สมควร ย่อมไม่พิจารณาญาติชาติ ไม่พิจารณาญาติโคตร ไม่พิจาราณ๎วุฒิ ย่อมตกไปในอารมณ์ที่วนปรารถนาอย่างเดียว เพราะเหตุนัน พระผู้มีพระภาคจิ่งตรัสว่า "มักไปในอารมณ์ตามความใคร่" การฝึกจิตเห็นบาปนั้น เป็นการดี คือความที่จิตอ่อนบุคคล ฝึกฝน ด้วยอริยมรรค ๕ ได้แค่ ความที่จิตอ่อนบุคคลทำแล้วโดยประกาศ ที่จิตสันจมพย ตัว เป็นการดี ถามว่า "เพราะเหตุไร?" แก้ว่า "เพราะว่า จิตนี้อุบบุคคลฝึกแล้ว ย่อมเป็นเหตุ ฯูง มาให้ คือว่า จิตที่บุคคลฝึกแล้ว ได้แก้ทำให้สันพย ย่อมมามังซึ่ง ความสุขอันเกิดแต่บรรรผล และสุขคือพระนิพพานอันเป็นปรมัตถ์" ในกาลจบเทนว บริษทที่มาประชุมกันเป็นอันมาก ได้เป็นอริย-บุคคลมีพระโสดาบันเป็นต้น เทคนำสำเร็จประโยชน์แก่มหาชนแล้ว, [ภิกษุ่นั้นกลับไปส่งำฉากามอีก] พระศจดากร่ันประทานโอวาทนี้แก่ภุษณุแล้ว จึงทรงส่งไป ด้วยพระดำรัสว่า "ไปเถิด ภิกษุ เธออย่างคิดอะไร ๆ อย่างอื่น จงอยู่ในนันนันน่ะแหละ" ภิกษุ นั้น ได้พระโอวาทจากสำนักของพระ ศาสดาแล้ว จึงได้ไป (อยู่) ในนี้นั่น, ไม่ได้คิดอะไร ๆ ที่วนให้คิด ภายนอกเลย. ฝายหาอาบาสิกา เมื่อดูด้วยทิพพจักษ์ ก็เห็นพระเณร
๑. อรัญวร ๕ คือ โลภะโทมิฬวะ ๑ สกฏกามิมรร ๑ อนาวามิรร ๑ อรหันตรร ๑