การพิจารณาในพระธรรมปทุตฺตอมภควา พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 140
หน้าที่ 140 / 243

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้กล่าวถึงการพิจารณาในพระธรรมปทุตฺตอมภควา โดยเฉพาะแนวคิดเกี่ยวกับปฏิปทาที่ช่วยให้เข้าถึงปัญญา ผ่านการเปรียบเทียบเหมือนคนที่ยืนอยู่บนยอดเขาซึ่งสามารถเห็นผู้ที่ยืนอยู่ด้านล่างได้อย่างชัดเจน ซึ่งสื่อถึงการมองเห็นความเศร้าโศกของผู้คนที่ยังอยู่ในสภาพไม่เป็นอิสระ และการใช้ทิพพจิญญาในการวิเคราะห์ความจริง เมื่อผู้นั้นสามารถพิจารณาได้ว่าความเศร้าโศกนั้นเกิดจากสิ่งใด และยังมีการกล่าวถึงพระมหากัสปะเถระเป็นกรณีศึกษาในบทนี้.

หัวข้อประเด็น

-การพิจารณาความจริง
-ทิพพจิญญา
-การไม่ประมาท
-พระมหากัสปะเถระ
-ความเศร้าโศก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๒ – พระธรรมปทุตฺตอมภควาแปล ภาค ๒ – หน้าที่ 138 นำเพียญปฏิปทาอันสมควรแก่ความไม่ประมาทนั้นอยู่ ซึ่งสู่ปัญญา เพียงดังปราเสทะ กล่าวคือ ทิพพจิญญอันบริสุทธิ์ โดยอรรถว่าสูง เยี่ยม ด้วยปฏิปทานั้น จงตอบลูกอันสำเร็จทางนั้น จะกล่าว ชื่อว่า ผู้ไม่เศร้าโศก เพราะความเป็นผู้ลูกครก คือความโศกเศร้าได้แล้ว, ย่อมพิจาณาเห็น คือยอมมองเห็นประชา คือหมู่สัตว์ ผู้ชื่อว่า มี ความเศร้าโศก เพราะความเป็นผู้ลูกครกคือความโศกยังไม่ได้ ซึ่ง ฉุดอยู่ และเกิดอยู่ ด้วยทิพพจญญา ถามว่า เหมือนอะไร ? แก่ว่า เหมือนคนผู้ยืนอยู่บนยอดเขา ย่อมมองเห็นชมผู้ยืนอยู่ พื้นดินได้ฉะนั้นนั้น, อธิบายว่า บุคคลยืนอยู่บนยอดเขา ย่อมมองเห็น ชนผู้ยืนอยู่พื้นดินได้ หรือผู้ยืนอยู่บนปราสาทชั้นบน ย่อมมองเห็น ชนผู้ยืนอยู่ในบริเวณแห่งปราสาทได้โดยไม่กลัวกันดา: ประชุญญอ บันติเต B ได้แก่พระมหาธิษฎามัณฑ์นั้น ก็ย่อมพิจารณานักคนพาล ทั้งหลาย ผู้ยืนอยู่ในวิบูลวะไม่ได ้ ฉันอยู่และเกิดอยู่โดยไม่ยาก ฉันนั้น ในกลบกากา ชนเป็นอันมาก กระทำให้แจ้งและรังเกียจผล ทั้งหลาย มีโสตปิดผลเป็นต้น ดังนี้แล. เรื่องพระมหากัสปะเถระ จบ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More