พระธัมม์ที่ถูกแปลภาค ๒ - หน้า 119 พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 121
หน้าที่ 121 / 243

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงการแปลพระธรรมในบริบทของพระพุทธศาสนา โดยให้ความสำคัญต่อกุศลและความหมายของคำว่า 'สูติ' ที่เป็นชื่อของโมนะ อีกทั้งยังกล่าวถึงการตอบคำถามเกี่ยวกับอุดมการณ์และความไม่เที่ยงของสังขารในลักษณะของการสัมผัสพระธรรมและการปรับตัวให้เข้ากับพระธรรม. โดยเนื้อหาเน้นที่การพิจารณาสิ่งที่ไม่เที่ยงและปฏิสันถาร เช่นการแสดงความบริสุทธิ์ผ่านการใช้ผ้าสะอาดในการดำเนินชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของพระธรรม
-การบรรยายถึงพระอรหัน
-การปฏิบัติและความไม่เที่ยง
-การให้และการรับในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค— พระธัมม์ที่ถูกแปลภาค ๒ - หน้า 119 อยู่ในศาสนาของพระพุทธเจ้าผู้ปราถจากกุศลโมนะ ชื่อว่ากุศล แต่ธรร (ละองค์) ท่านหา เรียกว่า (สูติ) ไม่; คำว่า "สูติ" นั่นเป็นชื่อของโมนะ; ภิกษเหล่านั้น ละสูติอันนี้ได้ขาดแล้ว อยู่ในศาสนาของพระพุทธเจ้าผู้ปราถจากกุศล." ในภาคจบ๑ คาถา พระภูมิถกถาแสดงพระอรหัน พร้อมด้วยปฏิสันถารทั้งหลายแล้ว. ปฏิสันถารทั้งหลายแล้ว. ปฏิสันถารทั้งหลายแล้ว. ปฏิสันถารที่เดียว. [บรรพกรรมของพระอุภานก] ได้ยินว่า ครั้งคีดคำบรรพ์ ท่านเป็นพระเจาแผ่นดิน ทรงำประทับในพระนคร เมื่อพระเสโไหวออกจากพระนาฏ ทรงเอาผ้าสะอาดเช็ดที่สูพระนคร ใผได้เศร้าหมองแล้ว ทั่วเธอกลับได้อัญญาอัชฌาสัยว่า "ผ้าสะอาดเห็นปานนี้ อาณาสรีระนี้ ละปกติแปรเป็นเศร้าหมองไปได้ สังขารทั้งหลาย ไม่เที่ยงหนอ," เพราะเหตุนี้ ผ้าสะอาดรับเช็ดสูนิ่นแล้ว จึงเป็นปิติของท่านแล้ว. ฝ่ายหมอชีวโกมารภัช ได้ย้อมทักทีนกเข้าไปถวายพระทศพล พระศาสดาทรงปิดบาตรด้วยพระหัตถ์ ตรัสว่า "ชีวกภิฏิกในวิหาร ยังอยู่ไหมหรือ ?" พระมหาโพธิกราบว่า "ในวิหารภิฏิกไม่มีไหมหรือ ? พระเจ้าข้า." พระศาดา ตรัสว่า "มี ชีวก." หมอชีวก ส่ง ๑. เหตุ ๒. หน้าเวา ๓. ความหมายว่าไม่เที่ยง.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More