พระตรีมังปิฎกฉบับแปล ภาค ๒ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 155
หน้าที่ 155 / 243

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้พูดถึงการที่นายมะได้ปลูกต้นทองหลางและสร้างศาลาเพื่อเป็นที่พักสำหรับผู้มาทำบุญ นางสุนันทาคิดว่าเข้าไปทำศาลาอาจจะทำให้พวกเขาไม่สามารถได้ส่วนบุญ แต่สุธรรมกลับมีความคิดสร้างสาระโบกธรณีเพื่อช่วยเหลือผู้ที่มาที่ศาลา ซึ่งทำให้เกิดใต้การอภิปรายและการสร้างสวนดอกไม้ของนางสุจิรา ในขณะที่นางสุชาดากลับไม่มีการลงมือทำอะไร จึงถูกทิ้งให้เวลาผ่านไป

หัวข้อประเด็น

- การทำบุญในศาลา
- ความคิดเห็นและการมีส่วนร่วมของตัวละคร
- การสร้างสถานที่เพื่อประโยชน์สาธารณะ
- การคิดถึงกรรมและการกระทำ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๒ - พระตรีมังปิฎกฉบับแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 153 นายมะ ปลูกต้นทองหลางต้นหนึ่งไว้ ไม่สู้พาศา แล้วปูแผ่นศิลาคราวที่โคนต้นทองหลางนั้น พวกที่เข้าไปแล้ว ๆ สู้ศาลา แลดูซ่อฟ้า อ่านหนังสือแล้ว ข้อพูดกันว่า "ศาลาชื่อสุธรรมมา" ชื่อของชน ๑๓ คนไม่ปรากฏ. นางสุนันทา คิดว่า "พวกนี้" เมื่อทำศาลาทำพวกเราไม่ให้ส่วนบุญด้วย. แต่นางสุธรรม ก็กำซ่อฟ้าเข้าร่วมส่วนฉันได้ เพราะความที่ตนเป็นคนฉลาด, เราก็จะทำอะไร ๆ บ้าง, จักทำอะไรหนอ? ในทันใดนั้น นางก็ได้มีความคิดเห็นว่าว่า "พวกที่มาสู่ศาลาควรจะได้กินและน้ำอาบ, เราจะให้ขาบสาระโบกธรณี," นางให้เขาสร้างสาระโบกธรณีแล้ว. นางสุจิรา คิดว่า "นางสุธรรม ได้ให้ซ่อฟ้า, นางสุนันทา ได้สร้างสาระโบกธรณี เราก็ควรสร้างอะไร ๆ บ้าง เราก็จะทำอะไรหนอแด?" ที่นั่น นางได้มีความคิดดั่งว่านั้น "ในเวลาที่พวกชนมาสู่ศาลา ดื่มน้ำอาบน้ำแล้วไป คงจะประดับระเบียนดอกไม้แล้วจึงไป, เราจักสร้างสวนดอกไม้." นางได้ให้เขาสร้างสวนดอกไม้บ่อน่านี้รืนรมย์แล้ว, ผู้ที่จะออกปากว่า "โดยมากในสวนนี้ ไม่มีต้นไม้ที่ผลิตดอกออกผลส่อได้นั้น" ดังนี้ มีใจมั่น. ฝ่ายนางสุชาดา คิดเสียว่า "เราเป็นทั้งลูกของนายมะ เป็นทั้งบำบัดริกจิรา, กรรมที่นายมะนั้นทำแล้ว ก็เป็นของเราเหมือนกัน, กรรมที่เราทำแล้ว ก็เป็นของนายมะนั่นเหมือนกัน" ดังนี้แล้ว ไม่ทำอะไร ๆ มัวเต่งแต่ตัวของตนเท่านั้น ปล่อยเวลาให้ผ่านพ้นไปแล้ว.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More