พระธัมม์บทนี้เกี่ยวกับจิตและความรู้ของอุบาสิกา พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 189
หน้าที่ 189 / 243

สรุปเนื้อหา

บทสนทนาระหว่างอุบาสิกาและภิกษุที่เกี่ยวกับความสามารถในการรู้จิตใจของผู้อื่น สะท้อนถึงความเข้าใจและการฝึกฝนในพระธรรม ว่าผู้ที่บรรลุธรรมจะสามารถรู้จิตใจของผู้อื่นได้อย่างแม่นยำ อุบาสิกาแสดงให้เห็นถึงความรู้ในจิตของคนและยืนยันว่ามีผู้รู้หลายท่าน แต่ภิกษุได้ถามถึงตนเอง ให้ความสำคัญกับความสามารถเฉพาะของอุบาสิกา

หัวข้อประเด็น

-การรู้จิตใจ
-การสนทนาระหว่างภิกษุกับอุบาสิกา
-ความเข้าใจในธรรมะ
-อุบาสิกาในพระพุทธศาสนา
-ความสามารถของผู้บรรลุธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๒ - พระธัมม์บทนี้ถูกถ่ายแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 187 แม่นั้นไปแล้ว เธอคิดว่า "อุบาสิกานี้ส่งวัตถุที่เราคิดแล้ว ๆ ทุก ๆ สิ่งมา; เราอยากจะพบอุบาสิกานั้น, ในหนอ นางพึงให้คนถือ โถขนีมีสติเตียดต่าง ๆ เพื่อเรา มาด้วยคนเองก็เดียว" อุบาสิกา คิดว่า "ภิกษุผู้บวชของเราประสงค์จะเห็นเรา หวังการไปของเราอยู่" ดังนี้แล้ว จึงให้คนถือโถขนีไปสู่ราหรแล้ได้ถวายแก่วิกนั้น ๆ ภิกษุนั้นภักดิ์กิริย และว่า "มหาอุบาสิกา ท่านหรือ ?" ชื่อว่า มณฑมณฑา." อุบาสิกา ถูกแล้ว พ่อ ภิกษุ. อุบาสิกา ท่านทราบจิตของคนอื่นหรือ ? อุบาสิกา. ถามดีฉันทำไม ? พ่อ. ภิกษุ. ท่านได้ทำวัดถูก ๆ สิ่งที่ฉันคิดแล้ว ๆ เพราะฉะนั้น ฉันถามท่าน. อุบาสิกา. พ่อ ภิกษุ ที่รู้ขิตของคนอื่น ก็มีมาก. ภิกษุ. ฉันไม่ได้ถามถึงคนอื่น, ถาม (เฉพาะตัว) ท่านอุบาสิกา. แม่เป็นอย่างนั้น อุบาสิกาก็ได้ออก (ตรงๆ) ว่า "ฉันรู้ จิตของคนอื่น" (คลับ) กล่าวว่า "ลูกเอ๋ย ธรรมคตคนทั้งหลาย ผู้รู้จิตของคนอื่น ย่อมทำอย่างนั้นได้." [ภิกษุฤาวอุบาสิกากลับไปฝ่าพระศาสดา] ภิกษุนันต์กล่าวว่า "ธรรมนี้นักหนอ, ธรรมคตปลดซน ย่อม คิดถึงอารมณ์อันบาง ๆ งามบาง ๆ; ถ้าเราจัดคิดสินอันไม่สมควร แล้วใช่, อุบาสิกา ก็พึงยังเราให้พึงซึ่งประการอันแปลก เหมือน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More