พระสิทธิมงคลคำแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 92 พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 94
หน้าที่ 94 / 243

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายถึงความสำคัญของความไม่ประมาทในพระพุทธศาสนาและการที่เป็นรากฐานของคุณธรรมทั้งหลาย พระนิพพานเป็นสภาวะที่ไม่แก่ไม่ตายจึงเรียกได้ว่าอมตะ และความไม่ประมาทนั้นเป็นเครื่องมือในการบรรลุถึงสภาวะดังกล่าว ทำให้รู้ถึงภาวะของการปล่อยสติและความประมาทที่เป็นอุปสรรคในการเข้าถึงความรู้สูงสุด เผยให้เห็นถึงแนวทางการปฏิบัติที่สำคัญสำหรับผู้ที่ศึกษาทางธรรมนี้ อย่างเข้มข้นเพื่อการบรรลุพระนิพพาน.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของความไม่ประมาท
-พระนิพพานและอมตะ
-การปล่อยสติและความประมาท
-อุปสรรคในการเข้าถึงธรรมสูงสุด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระสิทธิมงคลคำแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 92 ศีลทุกหลาย คุณธรรมเหล่าใดเหล่านั้น, คุณธรรมเหล่านั้น ทั้งหมด มีความไม่ประมาทเป็นรากเหง้า มีความไม่ประมาทเป็นที่ ประชุมลง, ความไม่ประมาท อันเก่ากว่า เป็นยอดแห่งธรรม เหล่านั้น ฉันนั้น เหมือนกันฉะนั้น ก็ความไม่ประมาทนั้นนั้น โดยอรรถ ชื่อว่า ความไม่อยู่ราคา- จากสติ, เพราะคำว่า "ความไม่ประมาท" นั้น เป็นชื่อของสติ อันตั้งมั่นเป็นบดี. พึงทราบวินิจฉันในคำว่า องค์ ปก, พระนิพพาน พระผู้ม- พระภาคธรเสริยกว่า อมตะ, เพราะพระนิพพานนั้น ชื่อว่าไม่แก่ ไม่ตาย เพราะความเป็นธรรมชาติไม่เกิด, เหตุั่น น พระองค์จึงตรัสว่า เรียกพระนิพพานว่า องตะ, สัตว์ทั้งหลายย่อมถึง อธิษฐานว่า ย่อม บรรลุมะ ด้วยความไม่ประมาทนี้ เหตุนี้นี้ ความไม่ประมาทนี้ จึงชื่อว่า เป็นเครื่องถึง; (ความไม่ประมาท) เป็นเครื่องถึงเมื่อคะ ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า "เป็นอุปายเครื่องบรรลุถึงองค์ตะ," จึงชื่อว่า องค์ตะ ภาวะ คือความมัวม คำว่า ความประมาท. คำว่า ความ ประมาทนั้น เป็นชื่อของการปล่อยสติ กล่าวคือ ความมิดติลล้ม บทว่า มัฏฐูน แปลว่า แห่งความตาย. บทว่า ปก คือ เป็นอุบาย ได้แก่เป็นหนทาง. จริงอยู่ ชนผู้ประาถมแล้ว ย่อมไม่ เป็นไปลงซึ่งชาติได้, แม้คิดแล้ว ก็ย่อมแก่ด้วย อ่อนตายด้วย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More