การปฏิรูปพระธีรมา - ภาค ๒ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 133
หน้าที่ 133 / 243

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงความเพียรโดยไม่ประมาทและการฝึกอินทรีย์ ในการสร้างที่มั่นคงเพื่อไม่ให้น้ำท่วมทับ ได้มีการอธิบายถึงวิธีการสร้างที่มั่นคงและความหมายของพระอรหัตซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของการไม่ถูกน้ำท่วมเช่นกัน มีพระไสดาบันเป็นตัวอย่างของผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการปฏิบัติดี นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงพระชูปปถกเถระในข้อมูลนี้ด้วย.

หัวข้อประเด็น

-ความเพียร
-การไม่ประมาท
-การฝึกอินทรีย์
-ความหมายของพระอรหัต
-พระไสดาบัน
-พระชูปปถกเถระ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๒ - พระธีรมาปฏิรูปตอบแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 131 ความเพียร ๑ ด้วยความไม่ประมาท กล่าวคือการไม่อยู่ปราศจาก สติ ๑ ด้วยความระวัง กล่าวคือปฏิสัทธิสีลสี่ ๑ ด้วยความฝึก อินทรีย์ ๑ ถามว่า "พึงทำเกาะเช่นไร ?" แก้ว่า "พึงทำเกาะที่หวั่นน้ำท่วมทับ ไม่ได้" อธิบายว่า พึงทำ เกาะที่หวั่นน้ํา คือ กีฏสังข์ ๔ อย่าง ไม่สามารถจะท่วมทับอีกรั้นได้; แท้จริง พระอรหัต อันโอจะไม่สามารถจะท่วมทับไดเลย ในเวลาขบคาถา ชนเป็นอันมาก ได้เป็นอร่อยบุคคล มี พระไสดาบันเป็นต้นแล้ว เทศกนีมีประโยชน์แก่บริษัทผู้ประชุมกันแล้ว ดังนี้แล. เรื่องพระชูปปถกเถระ จบ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More