พระธีรราชทัศน์ฉบับแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 177 พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 179
หน้าที่ 179 / 243

สรุปเนื้อหา

บทความนำเสนอปรัชญาเกี่ยวกับการฝึกจิตและการรู้จักตนเองที่ลึกซึ้ง โดยกล่าวถึงขั้นตอนการพัฒนาทักษะต่างๆ ที่ส่งเสริมโชคลาภและปัญญาในผู้ฝึก ปรัชญานี้ถูกอธิบายผ่านตัวอย่างของนายช่างและการปรับปรุงศิลปะแห่งการสร้างสรรค์ สิ่งเหล่านี้ต้องการความพยายามอันยั่งยืน และพระองค์ทรงย้ำถึงความสำคัญของการทำความเข้าใจธรรมชาติและการฝึกฝนที่ควรทำไปพร้อมกัน ในเนื้อหาได้แบ่งเป็นวิชาต่าง ๆ ที่ส่งเสริมการเติบโตของจิตใจ มีการนำเสนอถึงประเภทของอภิญญาที่ช่วยให้สามารถเข้าใจและข้ามผ่านความรู้สึกเชิงลบไปสู่การเข้าถึงทางธรรมและการหลุดพ้นจากกรรม

หัวข้อประเด็น

-การพัฒนาทักษะทางจิต
-ปรัชญาของพระธีรราชทัศน์
-การฝึกสติ
-อภิญญาและความสามารถที่เหนือธรรมชาติ
-ธรรมชาติของความรู้และการตระหนักรู้

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธีรราชทัศน์ฉบับแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 177 บทว่า ทุนวิจารณ์ ความว่า อันบุคคลห้ามได้ยาก เพราะเป็นธรรมชาติดีที่รับได้ง่าย เพื่อจะห้าม (กัน) จิตอันไปอยู่ สู่สภาพฉัน. สองบทว่า อุตสาหิโระ เตณะ ความว่า นายช่างด นำเอาท่อน ไม้ก่อนหนึงมาจากป่าแล้ว ทำไมไม่มีปล่อย (ปลอกปลอกออก) แล้ว ทาด้วยน้ำข้าวและน้ำมัน ณ ที่กระเบื้องดา คลาดที่ม่าไม้ทำให้ หยดยคือให้ตรง ให้เป็นของควรจะยิงนทรัยได้, ก็แลครั้นทำแล้ว จึงแสดงศิลปะแค่พระราชและราชมหามาตย์ ย่อมได้ลักษณะและ ความนับถือเป็นอันมาก ชื่อฉันใด, บรมผู้มีปัญญา คือผู้ฉลาด ได้แก่ ผู้แจ้ง ก็ฉันนั้นเหมือนกัน (คือ) ทำกิจนี้ อันมีสภาพดินเป็นต้น ให้หมดเปลือก คือให้ปราศจากสิ่งสกปรกที่หยาบชูงค์ และ การอยู่ในป่า แล้วโลมด้วยงูะครักษาา ณ ด้วยความเพียร อันเป็นไปทางกายและเป็นไปทางจิต ดัดที่ม่า คือสมะและวิสาสนา ทำให้ตรงคอมีไม้กด ได้แก้ให้สิ้นพยุง, ก็แลครั้นทำแล้วจึงอราม ส่งบรรทัดหลาย ทำอายกองวิชาชาใหญ่ได้แล้ว ทำอวยวิสัยนี้ คือ วิชชา ๑ อญัญ ๑ โลกุตตรธรรม ๔ ให้อยู่ในมือที่เดียว ย่อมได้ความเป็นทักษิณบุคคลฉลาด. ๓. วิชา ๓ คือบุพเพนวาสานุสติญาณ รู้จักละสิทธาได้ ๑ จดปฏาณุญาณ รู้กำนด ฤติและเหตุของสัตว์ทั้งหลาย ๑ อาฏวิญญาณ รู้ว่าทำสวะให้สูญไป ๒ อภิญญา ๖ คือ อินทรีย์ แสดงฤทธิได้ ๑ ทิพพโลกุ ๔ คุทธิพิธี ๑ เจโตปริญญา รู้ว่ากำหนดได้ผู้อื่น ได้ ๑ บุพเพนวาสานุสติ ระสิทธได้ ๑ ทิพพสิน ๓ อาสัญญาณ รู้ว่ากำสวะให้สูญไป ๑ ๓. โลภุตตรธรรม ๔ คือ มรรค ๕ ผล ๕ นิพพาน ๑.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More