การตีความพระคาถาในพระจุฬ์ทัศมี พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 180
หน้าที่ 180 / 243

สรุปเนื้อหา

บทความนี้วิเคราะห์พระคาถาในพระจุฬ์ทัศมี โดยเน้นความสำคัญของน้ำและอาลัย คำว่า โอกะ จึงมีความหมายเชิงลึกเกี่ยวกับการยึดมั่นในวิสัยที่ดี และการพัฒนาจิตใจให้มีความเข้มแข็ง นอกจากนี้ยังอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับการตีความคำในพระคาถาดังกล่าว เช่น อุผะโท และ ปรีมุตตติติ เพื่อให้เข้าใจความหมายลึกซึ้งในบริบทของศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-การตีความพระคาถา
-ความหมายของน้ำในพระพุทธศาสนา
-การพัฒนาจิตใจ
-อาลัยและวิสาสนะ
-การเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- พระจุฬ์ทัศมีฉบับแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 178 บทว่า วารีโอว แล้วว่า ดูปลา สองว่่า ถา เ จิตาโต ได้แก่ อันพรานเบ็ดชัดไปบนบก ด้วยมือ เท้า หรือด้วยเครื่องคัด มีท่าทายเป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง พึ่งทราบว่านฉัยในบทพระคาถาว่า โอภมกตออคโต (ดัง ต่อไปนี้)- น้ำ ชื่อว่า โอกะ (ได้) ในคำว่า "ภิคุณชาวเมืองปายู" มี จิรงชุ่มด้วยน้ำ ได้มาสู่มือฉบับดี เพื่อประสงค์จะให้พระศาสดา: " อาลัย ชื่อว่า โอกะ (ได้) ในคำว่า "มูลินะอัลยแล้ว ไม่ดีที่ อยู่.." แม้คำว่า 2 ก็อมได้ในบทพระคาถานี้ ในบทว่า โอกโมกต นี้ มีเนื้อความ (อย่าง) นี้ว่า "จากที่อยู่คือน้ำ คือจากอาลัยกล่าว คือน้ำ" บทว่า อุผะโท แปลว่า อันพรานเบ็ดขึ้นแล้ว บทพระคาถาว่า ปรีมุตตติติ จิตติ คำว่า จิตติ นี้คือ ทียินดีแล้วในอาลัยคือความคุณ 5 อันพระโยคาวรยขึ้นแล้วจาก อาลัยคือความคุณ 5 นั้น ชัดไปในวิสาสนากษมะฏฐาน เผ่าด้วยความ เพียงอันเป็นไปทางกบและเป็นไปทางกิษด เพื่ออัฐะ กล่าวคือ บ่วงมาร ย่อมดำรน คย่อมไม่อาจตั้งอยู่ในวิสาสนามมุฐาน นันได, เหมือนอย่าง ปลา นั้นอันพรานเบ็ดขึ้นจากอาลัยคือ น้ำแล้ว โยนไปบนบก เมื่อไม่ได้ น้ำ ย่อมคืนสนะนั่น แม้เมื่อเป็นอย่างนี้ บุคคลมีญาณ ไม่อคฎรยะ ย่อมทำกิจนั่นให้ตรง คือให้เวร แก้การงาน โดยยึดที่กล่าวแล้ว นั่นแล
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More