บทสนทนาเกี่ยวกับเมตตาในพระพุทธศาสนา พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 220
หน้าที่ 220 / 243

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึง ความสำคัญของการปฏิบัติสีลภ ๓ ในผู้ที่มีปัญญา เพื่อเป็นการพัฒนาจิตใจให้ดีขึ้น และความสำคัญของการมีเมตตาในชีวิตประจำวัน ให้สามารถนำไปสู่การเข้าใจในธรรมได้ เมื่อเข้าใจถึงความไม่แน่นอนของอัตภาพ สามารถนำไปสู่การเจริญวิปัสสนาได้อย่างถูกต้อง. เทวดาที่มาร่วมสนทนาได้ทำการถามเพื่อนำไปสู่การนวดอย่างรู้แจ้งในตนเอง.

หัวข้อประเด็น

- สีลภ ๓
- เมตตาและจิต
- วิปัสสนา
- พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
- ความไม่มั่นคงของอัตภาพ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ใจ, ผู้ฉลาดในประโยชน์ ควรระทำสีลภ ๓ หมวดนั้นๆ ผู้ฉลาดในประโยชน์ พึงเป็นผู้องค์ เป็นผู้ตรง เป็นผู้ซื่อสัตย์ เป็นผู้อ่อนโยน เป็นผู้ ไม่ทะนงตน." เป็นอาทิ ดังนี้แล้ว คำว่า "ภูมิทั้งหลาย พวกเธอพึง สาธยายเมตตสูตรนี้ จำเดิมแต่ไพร้สนทายในภายนอกวิหาร เข้าสู่ภายใน วิหาร" คำนี้ ทรงส่งไปแล้ว ภิกษุเหล่านั้น ถวายบังคมพระ ศาสดา ออกไปถึงไพร้สนทนนี้นโดยลำดับ พากลายเป็นหมู่ใน ภายนอกวิหาร เข้าไปสู่ไพร้สนทแล้ว. [เทวดาคลับได้เมตตาจิต] พวกเทวดาในไพร้สนทั้งสิ้น กลับได้เมตตาจิต ทำการตรัส รับภิกษุเหล่านี้ ถามโดยอ้อมเพื่ออภิปรายถาม อภิปราย เพื่อถึงการนวด_nอย่างรู้แจ้งในท่านแก่" พวกเธอ, (เทวดา) ได้เป็นผู้สงบ จงพักจิต จึงชื่อว่าเสียง แห่งมนุษย์มิได้แล้วในที่ไหน ๆ จิตของภิกษุเหล่านั้น มีอารมณ์ เป็นหนึ่ง. พวกเธอในที่พักกลางคืนและที่พักกลางวัน ยังจิตให้ยิ่ง ลงในวิปัสสนา เริ่มตั้งความสิ้นความเสื่อมในตนคิดว่า "ขึ้นชื่อว่า อัตภาพนี้เช่นภิกษาชนะฉัน เพราะอรรถวามต้องแตก ไม่มั่นคง" ดังนี้ เจริญวิปัสสนาแล้ว. [พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นกำำชับ] พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประทับนั่งในพระครันธฤทธ์นี้นเอง ทรง ๑-๒. แปลเป็นประโยคคำกวาง ๓, ว สัพพ์.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More