ความประมาทและการไม่ประมาท พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 95
หน้าที่ 95 / 243

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความประมาทว่าเป็นทางแห่งมิจฉา ส่งผลให้สู่ความตาย และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการเจริญอุปบ่มลักษณะที่จะช่วยให้เข้าใจทางมรรคและผล อธิบายความแตกต่างระหว่างผู้ประมาทกับผู้ไม่ประมาท รวมถึงพระคาถาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งช่วยให้เห็นถึงความสำคัญของจิตใจและการตั้งใจในการดำเนินชีวิตได้ดีขึ้น การรักษาสติและการปฏิบัติธรรมเป็นสิ่งสำคัญเพื่อไม่ให้ติดอยู่ในวงจรของการประมาท และมุ่งสู่การมีชีวิตที่มีความสุขและมีความเจริญ.

หัวข้อประเด็น

-ความประมาท
-การไม่ประมาท
-พระคาถา
-อุปบ่มลักษณะ
-การปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระอิทธปฏิฆาถุภัทร คบภ ๒ - หน้าที่ 93 เหตุนี้ ความประมาท จึงชื่อว่าเป็นทางแห่งมิจฉา คือย่อมนำเข้า ความตาย บทพระคาถาว่า อุปมุตตา น มินิตต์ คำว่า ค็ยส์ประกอบ ด้วยสติ ชื่อว่า ผู้นิประมาทแล้ว ใคร ๆ ไม่พิสูจน์คำว่า ผูไม่ ประมาทแล้วจิ้มตาย คือนเป็นผู้นิแก่และไม่ตาย ดังนี้ เพราะ ว่าสัตว์ใด ๆ ชื่อว่าไม่แก่และไม่ตาย ย่อมไม่มี แต่ชื่อว่า วัชฌะ ของสัตว์ผู้ประมาทกำหนดไม่ได้ (วุฒู) ของผู้นิประมาท กำหนดไม่ได้ เหตุนี้ สัตว์ผู้ประมาทแล้ว แม้เป็นอยู่ ก็ชื่อว่ายาย แล้วแท้ เพราะความเป็นผู้นิฝันไปจากทุกข์ มีชาตเป็นต้นได้, ส่วนผูไม่ประมาท เจริญอุปบ่มลักษณะแล้ว ทำให้แจ้งซึ่งมรรค และผลโดยจับพลัน ย่อมไม่เกิดในตั๊วภาพที่ ๒ และ ที่ ๓ เหตุนี้ สัตว์ผู้ไม่ประมาทเหล่านั้น เป็นอยู่ก็จำแนกตาม คายแล้วก็จำชื่อว่า ยอมไม่ตายโดยแท้ บทพระคาถาว่า เย ปมุตตา ยง มุตา คำว่า ส่วนสัตว์ เหล่าใดประมาทแล้ว สัตว์เหล่านั้น ย่อมเป็นเหมือนสัตว์ที่ตายแล้ว ด้วยการขาดชีวิต หรือ มีวิญญาณไปปราศแล้วเช่นกันกับท่อนฟันนะ เทียว เพราะความที่ตายแล้วด้วยความตาย คือ ความประมาท จิงอยู่ แม้จิตดวงนึงว่า "เราจักวายทน ท เราจักรบาสีด สเราจัก ทำปณิธานกรรม" ดังนี้ ย่อมไม่เกิดขึ้น แม้แก่นบทั้งหลายผู้นาคอภัย ก่อน จิตดวงนึงว่า "เราจักษำเพียวดวรทั้งหลาย มือจรยวัตรและ อุปชฌายวัตรเป็นต้น เราจักสมาทานธูงค์ เราจักเจริญภาวนา" ดังนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More