การแผ่ลอออกจากวัฏฏะและความไม่ประมาณในพระธรรมปิฎก พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 96
หน้าที่ 96 / 243

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายเกี่ยวกับการแผ่ลอออกจากวัฏฏะในหลักธรรมของพระพุทธ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการประมาณและไม่ประมาณในการพัฒนาปัญญาของบุคคล บอกถึงการต่างระหว่างผู้ที่มีความประมาณว่าเป็นเหมือนคนตาย และผู้ที่ไม่มีความประมาณมีชีวิตชีวา ในการประพฤติปฏิบัติธรรม สรุปได้ว่าบัณฑิตมีการเจริญในความไม่ประมาณ และเป็นผู้มีความสุขในธรรมทั้งหลายที่พระพุทธเจ้าได้สอนไว้.

หัวข้อประเด็น

-พระธรรมปิฎก
-ความไม่ประมาณ
-บทบาทของบัณฑิต
-วัฏฏะและการพัฒนา
-สติปฏิญาณ ๔
-โพธิปักขิยธรรม ๓

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค-พระธรรมปิฎกถามแปล ภาค ๒ หน้าที่ 94 ย่อมไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์เหล่านั้น แม้ผู้เป็นบรรพชีพ ดั่งจิตดวงหนึ่งไม่เกิดขึ้นแก่สัตว์ที่ตายแล้วนั้น สัตว์ผู้ประมาณแล้วนั้น จะเป็นผู้มีอะไรเป็นเครื่องกระทำให้ต่างจากสัตว์ผู้ตายแล้วว่า? เพราะเหตุนั้นพระผู้พุทธ จึงตรัสว่า "ชนเหล่าใด ประมาณแล้ว, ชนเหล่านั้นย่อมเป็นเหมือนคนตายแล้ว." บทพระคาถาว่า เอ๊ด วิลสโตฺ ญฺฺตา ความว่า รู้ความนั้นโดยแปลกกันว่า "การแผ่ลอออกจากวัฏฏะของผู้ประมาณแล้วนั้นไม่มี, ของผู้ไม่ประมาณแล้ว มีอยู่." มีปัญว่า "ใครเล่า ย่อมรู้ความเปลกกันนั้น?" มีวิสาขนา "บัณฑิตทั้งหลาย ตั้งอยู่ในความไม่ประมาณ" อธิบายว่า บัณฑิต คือผู้เมมา ได้แก่ ผู้มีปัญญาเหล่าใด ตั้งอยู่ในความไม่ประมาณของตนแล้ว เจริญความไม่ประมาณอยู๋ บัณฑิตเหล่านั้น ย่อมรู้เท่าถูกต้องแปลกกันนั้น. บทพระคาถาว่า อุปมาน ปโมทนติ ความว่า บัณฑิตเหล่านั้น ครับรู้รองนี้แล้ว ย่อมบันเทิง คือ เป็นผู้มีหน้ามั่นแน่น ได้แก่ ยินดี ร่าเริง ในความไม่ประมาณของตนเองนั้น. บทพระคาถาว่า อริยํ โคตร รตา ความว่า บัณฑิตเหล่า นั้น บันเทิงอยู่ในความไม่ประมาณอย่างนั้น เจริญความไม่ประมาณนั้นแล้ว ย่อมเป็นผู้ดี คือ ยินดีงามในโพธิปักขิยธรรม ๓ แยกออกเป็นสติปฏิญาณ ๔ เป็นต้น และในโลกุตตรธรรม ๘ ประการ อันเป็นบ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More