พระปรัชญา ทูลฉบับแปล ภาค๒ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 136
หน้าที่ 136 / 243

สรุปเนื้อหา

ข้อความนี้กล่าวถึงความสำคัญของการไม่ประมาทในการใช้ชีวิต โดยเฉพาะการรักษาความไม่ประมาทเหมือนการรักษาทรัพย์ที่มีค่า ผู้ที่ไม่ประมาทจะสามารถบรรลุผลสูงสุดในทั้งโลกนี้และโลกหน้า และสร้างความสุขอันยั่งยืนได้ นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงอภิญญา ๖ และการมีปัญญาที่สามารถรู้จักผู้คนและสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างชัดเจนเพื่อไปสู่การพัฒนาตนเอง.

หัวข้อประเด็น

-ความไม่ประมาท
-อานิสงส์
-ปัญญา
-อภิญญา
-สุขอันไพบูลย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๒ - พระปรัชญา ทูลฉบับแปล ภาค๒ - หน้าที่ 134 ความยินดีในถาม: เพราะว่าผู้ไม่ประมาทแล้ว เพ่งพิณอยู่ ย่อมบรรลุสุขอันไพบูลย์." [แก่อรรถ] บรรดาเหล่านี้นั้น กล่าวว่า พาลา ได้แก่ ผู้ประกอบด้วยความ เป็นชนพล คือนักรู้จักประโยชน์ในโลกนี้และ โลกหน้า. กล่าวว่า ทุมเมโธน คือไร้โศก. พวกชนะมานั้น เมื่อไม่เห็น โทษในความประมาท ชื่อว่าอ่อนประโยชน์อ่อน ๆ ซึ่งความประมาท คือว่า ย่อมให้กาลล่วงไปด้วยความประมาท. กล่าวว่า เมธารี เป็นต้น ความว่า ส่วนบัณฑิตผู้ประกอบด้วย ปัญญาอันรุ่งเรืองในธรรม ย่อมรักษาความไม่ประมาทไว้เหมือน ทรัพย์ คือ รัตนะ ๗ ประการ อันประกะอัศจรรย์คือสุดยอด ซึ่งสีเนื่องมา แต่ดวงศีรษะ อธิบายว่า เหมือนอย่างว่า ชนทั้งหลายเมื่อเห็น อานิสงส์ในทรัพย์ว่า "เราทั้งหลาย อาศัยทรัพย์อันสูงสุด จักถึง สมบัติคือถามคุณ จักทำงานเป็นที่ไปสู่โลกให้หมดได้," ย่อม รักษาทรัพย์นั้นไว้จงใจ; เมื่อเห็นอานิสงส์ใน ความไม่ประมาทว่า "ชนผู้ไม่ประมาทแล้ว ย่อมได้เฉพาะสิ่งงาน ทั้งหลาย มีปฐมานเป็นต้น ย่อมบรรลุโลกุตตรธรรมมีมรรคนและ ผลเป็นต้น ย่อมังวิชา ๓ (และ) อภิญญา ๖ ให้ถึงพร้อมได้," (ด้านล่าง) ๑.อภิวิริ แสดงฤทธิ์ได้, ทิพยโสต ทุพพี่, เจโตปริญาญ รู้จักกำหนดใจผู้อื่น, ปุปเพ็นความสุขสด ระลึกชาตได้, ทิพพจงฺ คาทพยฺ อาสวขันญ รู้จักทำ อาสะให้สิ้น, ร่วมเป็นอธิญาณ ๖. ๓ ข้อเบื้องปลาย เรียกว่า ๓ ก็ได้.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More