การฝึกจิตและธรรมชาติของจิตในพระพุทธศาสนา พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 191
หน้าที่ 191 / 243

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้มุ่งเน้นการรักษาจิตและการฝึกจิตจากหลักธรรมในพระพุทธศาสนา อธิบายว่าความงามของจิตสามารถทำได้ง่าย และว่าการมุ่งจิตไปในอารมณ์ที่เหมาะสมนั้นจะนำไปสูสุขสบายภายใน ข้อความในพระคาถาที่แสดงในการรักษาจิตย่อมมีความสำคัญในการพัฒนาอารมณ์และจิตใจให้เข้มแข็ง การเข้าใจถึงความงามและการฝึกจิตที่ดี คือหนทางแห่งการพัฒนาตนเองและการมีชีวิตที่มีความสุข.

หัวข้อประเด็น

- การรักษาจิต
- การฝึกจิต
- ธรรมชาติของจิต
- พระคาถาและการตีความ
- ความสุขในชีวิต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธัมมปฑฺฐานอัปลิว ภาค 2 - หน้าที่ 189 ในนิรันดร์ไม่ไดเหล่า พระศาสดา ภิกขุ ถ้าอย่างนั้น เธอจําจำรักษาส่งหนึ่ง เท่านั้นได้ไหม? ภิกขุ รักษาอะไร ? พระเจ้าข่า พระศาสดา ตรัสว่า "เธอจํารักษาจิตของเธอนั่นแหละ ธรรมดา จิตนี้บุคคลรักษาได้เท่านั้น เธอจํามุ่งจิตของเธอไว้ให้ได้ อย่าคิดอารมณ์ อะไร ๆ อย่างอื่น ธรรมดาจิตนี้บุคคลงามไม่ได้เท่า ดั่งนี้แล้วจึงตรัส พระคาถานี้ว่า "การฝึกจิตอันงามได้ง่าย เป็นธรรมชาติโรง มิฉะนั้นในอารมณ์ตามความใคร่ เป็นการดี (เพราะว่า) จิตที่ดีแล้ว ย่อมเป็นเหตุนำสุข มาให้." [แก้วธร] บันทึกพิมพ์ทราบวิเคราะห์ในพระคาถานั้น (ดังต่อไปนี้) ธรรมดา จิตนี้ อันบุคคลอ่อน๋มได้ง่าย เพราะเหตุนี้ จึงชื่อว่า ทุนนิคุณคะ จิตนี้ ย่อมเกิดและดับเร็ว เพราะเหตุนี้ จึงชื่อว่า ลฬ ซึ่งจิตอันนั้นได้เท่า อันเกิดและดับเร็วขึ้น บทพระคาถาว่า ยุตฺ ตามิถิติโต กล่าวว่า มักตาไปใน อารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งนั้นแหละ จริงอยู่ จิตนี้ ย่อมไม่รู้ฐานอัน ตนควรได้ หรือฐานอันไม่ควรได้ ฐานอันสมควรหรือฐานอันไม่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More