ความสนิทาในบุคคลและการพัฒนาจิต พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 242
หน้าที่ 242 / 243

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงแนวคิดเกี่ยวกับความสนิทาในบุคคล ซึ่งพระศาสดาได้ชี้แจงว่า ความสนิทาในบุคคลไม่สามารถทำให้ผู้ที่ตั้งใจจะบรรลุอรหันต์ได้ ในขณะที่จิตที่ถูกฝึกไว้ดีจะเป็นสิ่งที่สามารถพาไปสู่ความเป็นเลิศได้ แสดงให้เห็นว่าจิตต้องเป็นตัวนำทางที่สำคัญที่สุดในชีวิต แทนที่จะพึ่งพาความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง เช่น มารดา บิดา หรือญาติ ซึ่งเป็นข้อคิดที่มีความหมายสำคัญในพุทธศาสนา .

หัวข้อประเด็น

-ความสนิทาในบุคคล
-การพัฒนาจิต
-พระธรรมคำสอน
-อรหัตผล
-จิตที่ตั้งใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๒ - พระธัมมปภัณฑ์ฉบับแปล ภาค ๒ - หน้า ที่ 240 พระโสไธยะ: ขึ้นชื่อว่าความสนิทาในบุคคลไหน ๆ ของเรา ย่อมไม่มี ภิญฎังหลาย กราบถวายพระศาสดา ว่า "ภิญฎูนี้พูดไม่จริง" ในวันที่พูดว่า "ความสนิทาในบุคคลไหน ๆ ของเราไม่มี" ย่อมพยายาม พระอรหัตผล พระเจ้า [จิตที่ตั้งไว้ชอบยิ่งกว่าหดไต้ ๆ] พระศาสดา ตรัสว่า "ภิญฎังหลาย บุตรของเราพยายาม อรหัตผลมิมีได้, (เพราะว่า) ตั้งแต่เวลาที่บุรของเรา เห็นรม- ทัสนะด้วยจิตที่ตั้งไว้ชอบแล้ว ความสนิทาในบุคคลไหน ๆ ไม่เกิด เลย, จิตเท่านั้น ซึ่งเป็นไปในภายในของสัตว์เหล่านี้ ย่อมให้สมบัติ ที่มารคบิดาไม่อาจทำให้ได้" ดังนี้แล้ว จึงตรัสพระคาถานี้ว่า "มารดาบิดา ก็หรือว่าญาติเหล่าอื่น ๆ ไม่มีพึงทำ เหตุนัน (ให้ได้), (แต่) จิตอันตั้งไว้ชอบแล้ว พึงทำเขาให้ประเสริฐกว่าเหตุนัน" " [แก้ความ] บรรดาท่านเหล่านั้น บทว่า น ° ตา ความว่า มารดาบิดา (และ) ญาติเหล่าอื่น ๆ ไม่พึงทำเหตุนันได้เลย. 1. อีกนัยหนึ่ง มม ปฏุสดุ สัมพันธ์เชื่อมกับ สินโภ แปลว่า บุตรของเรา ไม่มีความ สนิทาในบุคคลไหน ๆ จำเดิมแต่เวลาที่เธอเห็นมรรคะสนะด้วยจิตที่ตั้งไว้ชอบแล้ว มุก- ทัสสน์ เป็นภาวสัมพันธิ ในทุกภาคโล"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More