พระธรรมปิฎกอรรถแปล ภาค ๒ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2 หน้า 144
หน้าที่ 144 / 243

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงบุคคลที่มีปัญญายอดเยี่ยมที่พยายามเรียนรู้และฝึกฝนตัวเอง โดยยกตัวอย่างว่าผู้มีปัญญาจะเข้าถึงธรรมะและหลีกเลี่ยงความทุกข์ในวัฏสงสารได้ นอกจากนี้ ยังกล่าวถึงการบรรลุธรรมในกรณีของชนจำนวนมากที่สามารถเข้าถึงโสตปัดผลและผลที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีความสำเร็จ ในช่วงท้ายอธิบายถึงการละไปด้วยธรรมผลที่เกิดจากการเรียนรู้และการทำความดีโดยบุคคลผู้มีปัญญา.

หัวข้อประเด็น

-บุคคลผู้มีปัญญา
-การเรียนรู้
-ธรรมะและวัฏสงสาร
-การบรรลุธรรม
-โสตปัดผล

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๒ - พระธรรมปิฎกอรรถแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 142 บทว่า สุมโมโส เป็นต้น ความว่า บุคคลผู้มีปัญญายอดเยี่ยม ย่อมละบุคคลผู้เห็นปานนั้นไป ด้วยนิสัยเป็นที่น่ายินดีว่า เมื่อตนมีปัญญาขึ้น พยายามเรียนสูตร หนึ่งอยู่จนนั้น, ผู้มีปัญญาย่อมเรียนได้รวดเร็ว, ย่อมละไปด้วย นิยามเป็นที่มา อย่างนี้ก่อน: องค์นั้น เมื่อคนมีปัญญาทิบำ กำลังพยายามนำที่พักกลางคืนและที่พักกลางวันอยู่จนนั้น และเรียนมันมัวฐานสาธารณะอยู่บ้าง, แม้นภาวะเป็นส่วนใหญ่นั้น บุคคลผู้มีปัญญาเข้าไปสู่ที่พักกลางคืนหรือที่พักกลางวันผู้นำทำไว้ พิจารณามันมัวฐานอยู่ง สรรพสิ่งสาลีไล่ลับไป ทำโลจุดธรรมะ ฯ ประการให้อยู่ในเรือนมือได้, ผู้มีปัญญาดี ย่อมละไปด้วยธรรมผลเป็นที่รออยู่ดังนี้ องค์ผู้มีปัญญาเองละคือทั้งคนมีปัญญาทีนั้นไว้ในวัฏสงสาร ร้อน (ตน) ออกจากวัฏสงสารไปโดยแท้ ในกลางบาคาน ชนเป็นอันมาก บรรลุรวีผลทั้งหลาย มีโสตปัดผลเป็นต้น ดังนี้ เรื่องกิญจ ๒ สายฯ จบ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More