ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค๒ - พระธรรมปฐิกษะถูกลบแปล ภาค ๒ - หน้าที่ 209
"ปัญญาย่อมไม่บรีรุนย์ แก่ผู้มิจฉาจริยะมึนมั่นคง
ไม่รู้แจ้งซึ่งประสาธรรม มีความเลื่อมใสอัน
เถือมตออย วัย (ความกลัว) ย่อมไม่มีคู่มี
จิตอันราระไม่ชาซบ มีใจไม่ถูกโทสะตาม
กระทบ ละญาณและบาปได้ ตื่นอยู่"
[แก่อรรถ]
บรรดาเทพเหล่านั้น ด้วยวา อนุวุฏิจิตสุด สุด พระ
ศาสดาทรงแสดงเนืออว่า "ชื่อว่าอิฏฐิ" ของใคร ๆ ไม่มีแน่นอน
หรือมั่นคง ก็บุคคลใด ไม่ดำรงอยู่ในภาวะไหน ๆ เหมือน
กับฟักเขียวที่ตั้งไว้บนหลังม้า เหมือนกับหลักที่ปักไว้ในกองแกลบ
เหมือนกับดอกทุ่มบนศิริองค์, บางคราวเป็นเสด, บางครั้งเป็น
อาชิวา บางคาบเป็นนิครนธ์, บางเวลาเป็นคาบฃ, บุคคลเห็นปานนี้
ชื่อว่ามีจิตไม่มั่นคง, ปัญญาอันเป็นภาพมรรคดี อันต่างด้วย
ปัญญามีราปภาพเป็นอาการดี ย่อมไม่บริบูรณ์ แก่บุคคลนั้น ผู้มี
ชื่อว่ามีจิตไม่มั่นคง, ปัญญาอันเป็นภาพมรรคดี อันต่างด้วย
ปัญญามีรูปภาพอันอกกีด, ย่อมไม่บริบูรณ์, แก่บุคคลนั้น ผู้มี
จิตไม่มั่นคง, ไม่รู้พระสัทธิธรรม อันต่างโดยโพธิปชญธรรม ๑๓
ชื่อว่ามีความเลื่อมใสอันเลื่อนลอย เพราะความเป็นผู้มีศรัทธาน้อยหรือ
เพราะความเป็นผู้มีศรัทธาลอนแกลน, เมื่อปัญญาเป็ยนามภาพจะไม่
บริบูรณ์ ปัญญาที่เป็นรูปภาพ อัปปภาพและโลภะตระ จักบริบูรณ์
ได้แก่ที่ไหนเล่า ?
บทว่า อนุวุฏจิตสุดสุด ได้แก่ ผู้มีจิตอันระไม่ชุ่มแล้ว
๑. มีธรรมเป็นฝ่าพันธ์แห่งความศรัทธา ๑๓ เป็นประเภท