ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรร ประช
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๗ (ยอดนักสังเกต)
៣៨៦
เป็นบัณฑิตด้วยเหตุเพียงเท่านี้ พระองค์โปรดรอไปก่อน พวก
เราควรทดลองเขาดูต่อไป
แล้วจึงจะรู้ว่ามโหสถเป็นบัณฑิตที่
แท้จริงหรือไม่” พระราชาทรงสดับเช่นนั้นก็ทรงคล้อยตาม
วันหนึ่ง พระเจ้าวิเทหราช ให้นำท่อนไม้ตะเคียนมา
และตัดเพียง ๑ คืบ ให้ช่างกลึงจนมีขนาดเท่ากัน แล้วส่งไปใน
หมู่บ้านของมโหสถพร้อมพระดำรัสว่า “ชาวบ้านจงแจ้งว่า ท่อน
ไม้ตะเคียนนี้ ด้านไหนเป็นโคน ด้านไหนเป็นปลาย ถ้าไม่มีใครรู้
จะถูกปรับ 9,000 กหาปณะ” ฝ่ายชาวบ้านเมื่อมาประชุมกัน
ต่างไม่มีใครรู้ จึงมาขอความช่วยเหลือจากท่านมหาเศรษฐี
ท่านมหาเศรษฐีได้เรียกมโหสถบัณฑิตซึ่งกำลังเล่นอยู่ที่
สนามเด็กเล่น แล้วเล่าเรื่องให้ลูกรักฟัง มโหสถคิดว่า “พระ
ราชาทรงประสงค์อยากจะทดลองภูมิปัญญาของเรา” เพียงใช้
มือจับท่อนไม้ตะเคียนด้วยมือเท่านั้น ก็รู้ได้ว่า ข้างไหนเป็นโคน
ข้างไหนเป็นปลาย ถึงแม้จะรู้อยู่แก่ใจ แต่ท่านก็ให้นำภาชนะใส่
น้ำมา เพื่อจะได้อธิบายให้มหาชนรู้โดยทั่วหน้ากัน โดยให้เอา
ด้ายผูกตรงกลางของท่อนไม้ ถือปลายด้ายไว้ จากนั้นให้วาง
ท่อนไม้ตะเคียนบนนา ทันทีที่วางลงในน้ำา ปลายด้านหนึ่งก็จม
ลงก่อน ส่วนปลายอีกด้านหนึ่งก็เอียงขึ้นมา
มโหสถได้ถามมหาชนว่า “ธรรมดาต้นไม้ โคนหนักหรือ