ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยอัจ
คัมภีร์โบราณนั้น ความคิดเห็นเหล่านี้ล้วนมีคุณประโยชน์ในวิชาการเป็น
อย่างมาก
ดร.ชัยสิทธิ์ สุวรรณาวงกูล ได้ศึกษาเน้นไปที่คัมภีร์บริจารณสูตร
ต้นฉบับลายมือเขียน เขียนเป็นภาษาสันสกฤตด้วยอักษรพราหม์ ซึ่งข้อความ
ในส่วนแตกหักกว่า 30 ชื้นของคัมภีร์นี้ได้รับการตรวจชำระแล้วจาก
นักวิชาการ ดร.ชัยสิทธิ์ได้วิเคราะห์ความหมายของกายสงเคราะห์ของพระพุทธเจ้า
ที่ปรากฏในพระสูตรดังกล่าวว่าแท้จริงแล้วคือพระธรรมกายโดยเทียบเคียงกับ
ฉบับภาษาจีนและภาษาบาลีหลายสำนวน ถือเป็นความชัดเจนในเรื่องความ
หมายของธรรมกายอย่างยิ่ง การค้นคว้ากว้างครอบคลุมไปถึงกลุ่มคัมภีร์อามะ
ซึ่งทางมหายานถือว่าเป็นส่วนที่สืบทอดจากคำสอนของสาวกยาน และได้พบ
ความหมายของธรรมกายในงานส่วนนี้เช่นกัน
พระวีรชัย เตชะนุกูล ได้ใช้ฐานข้อมูล GRETIL ซึ่งเป็นข้อมูล
อิเล็กทรอนิกส์ของคัมภีร์พระพุทธศาสนากายสันตะกุฏต่างๆ ที่เหลือ
ตกทอดมาถึงปัจจุบัน ในการค้นหาคำว่า “ธรรมกาย” ที่เขียนไว้ในพระสูตร
ประมาณ 180 คำภัษ์นั้น พบว่าใน 33 พระสูตรมีคำว่า “ธรรมกาย” อยู่ 194
ตำแหน่ง พระวีรชัยได้นำผลที่ได้เทียบเคียงกับหลักฐานทางวิชาการอื่นๆ เพื่อ
ตรวจสอบข้อมูลเฉพาะของคำว่าธรรมกายที่ผ่านมา จากนั้นได้ค้นหาข้อมูลทาง
ประวัติศาสตร์และแนวคำสอนในคัมภีร์ที่พบคำว่าธรรมกาย แล้วจึงประมาณ
ความหมายของคำว่าธรรมกายในท้ายที่สุดจะได้ความหมายของธรรมกายที่มี
มาแต่เดิมในสมัยพระพุทธศาสนายุคต้นๆ ซึ่งสามารถศึกษาเปรียบเทียบกับคำ
สอนวิชาชาญธรรมภายในโดยพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทสโร) ได้