ความเข้าใจในธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 28
หน้าที่ 28 / 374

สรุปเนื้อหา

ข้อความข้างต้นกล่าวถึงความแตกต่างระหว่างธรรมกายของพระสัมมาสัมพุทธเจ้ากับธรรมกายของพระปัจเจกพุทธเจ้าและพระอรหันต์สาวก ผ่านความคิดเห็นของดร.ชินดา ที่เน้นความเข้าใจของชาวพุทธในยุคนั้นว่ามีความเชื่อในคุณธรรมที่เหนือกว่า โดยอ้างอิงถึงเนื้อหาจากพระไตรปิฎกและคาถาในสันสกฤต ที่ชัดเจนถึงความไม่เหมือนกันนี้เพื่อแสดงให้เห็นถึงคุณธรรมที่ไม่สามารถเปรียบเทียบได้ระหว่างพระพุทธเจ้าและพระสาวก.

หัวข้อประเด็น

-ความว่างและสุขฑฺ
-การเปรียบเทียบธรรมกาย
-ความคิดเห็นดร.ชินดา
-คุณธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
-แนวคิดวิชชาธรรมกาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หากจะอาศัยเพียงเหตุผลของความคล้ายคลึงในการเข้า ถึงความว่าง (สุขฑฺ) เหมือนกัน แล้วจะสรุปว่าไม่มีอะไรมาจง หย่อนกว่านั้น เราก็สามารถเปรียบเทียบองค์ ที่เป็นช่องเล็กจิ๋วว่า เสมอเหมือนกันกับท้องภาคนั่นเอง 23 ดร.ชินดาได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับข้อความข้างต้นว่า ข้อความในคาถา แสดงถึงความเข้าใจของชาวพทธในยุคนั้น ถึงคุณธรรมของพระสัมมาสัม พุทธเจ้าที่เหนือกว่าธรรมของพระปัจเจกพุทธเจ้าและพระอรหันต์สาวก ซึ่ง สอดคล้องกับหลักการในวิชชาธรรมกาย ที่กล่าวถึงธรรมกายของพระสัมมาสัม พุทธเจ้าแยกจากธรรมกายของพระปัจเจกพุทธเจ้าและของพระอรหันต์สาวก โดยมีข้อคามมงบอกความไม่เหมือนกันดังนี้ ธรรมกายหรือภายธรรมหมดทั้งสิ้น ยทรธรรมกายของ พระสัพพัญญูและธรรมกายของพระปัจเจกพระออกเสีย นอกจากนั้นเป็นธรรมกายของพุทธสาวกทั้งสิ้น มินจาเท่าใดเป็นสังสรตนะ แก้วคือสงฆ์ 24 เรื่องความแตกต่างกันนี้ พระไตรปิฎกบาถกล่าวข้อความว่าไว้นิจเจนว่า ไม่มีพระภิษฐฐุปรุ-ปฐมเลยที่จะถึงพร้อมด้วยคุณธรรมเสมอด้วยพระพุทธ องค์ทุกประกา 25 ซึ่งตรงกันกับเนื้อความในโศลกสันสกฤตินี้และหลักการของ วิชชาธรรมกาย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More