ข้อความต้นฉบับในหน้า
คำสอนของพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนีเกี่ยวกับความรู้แจ้งของธรรมกายกับหลักฐานที่พบในพระบาลีนี้เข้ากันได้และไม่แตกต่างกัน กล่าวคือ เพราะธรรมภายประกอบด้วยญาณรู้แจ้ง ดังนั้นการที่พระสัมพุทธเจ้าสู่องิสุธรรมได้ด้วย “ตาและญาณของธรรมกาย” หมาใช่ด้วยตาเนื้อและการรับรู้ของพระรูปปกายแห่งพระสิทธิ์ตราชูมาแต่ยังไง ดังนั้นการเข้าถึงธรรมภายจึงมีความจำเป็นต่อการตรัสรู้ภิญญาสูงธรรม ดังนั้นแสดงไว้ในพระวินัยปุฎก เล่าถึงในบทที่พระสมาจารย์ตรัสรู้ปฏิวัตรสมบูรณ์ปฐมสยาม ณ คงไม่พระศรีมหาโพธิ์ และเพราะเหตุนี้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายผู้มีธรรมกายและเป็นธรรมภายจึงทรงอุดมด้วยธรรมจัญและพระญาณอันแจ่มแจ้งชัดเจนในสรรพสิ่ง ดังที่พระคาถาสรเสริญพระพุทธคุณบันทึกไว้ในคัมภีร์อุปาทานนั้นเป็นการเชื่อมโยงที่ทำให้ผู้ศึกษาได้เห็นชัดถึง “หน้าที่” และความจำเป็นของธรรมกายต่อการตรัสรู้ธรรมตามนิยามของวิชชาธรรมกาย
อย่างไรก็ดี แม้คัมภีร์สายปฏิบัติท้องถิ่นจะพระุณาคุณของพระธรรมกายไว้อลังการ์เชิง โดยมีหลักการที่ตรงกันกับวิชชาธรรมกายว่า “ธรรมกายประกอบด้วยญาณรู้แจ้ง” ตาม แต่เรากลับไม่เคยพบเห็นข้อความใดในคัมภีร์เหล่านี้ ที่ระบุถึงความสำคัญของธรรมกายต่อการตรัสรู้ธรรมของพระพุทธองค์หรือพระสาวกเลยสักครั้งเดียว การศึกษาแต่ “คาถาพระธรรมกาย” เพียงอย่างเดียว จึงอาจทำให้ผู้ศึกษาตีความไว้ว่าการที่ธรรมกายมีญาณรู้แจ้งก็เป็นเพราะธรรมภายในเป็นคุณสมบัติของพระพุทธองค์ผูัสรัสธรรม แล้วเท่านั้น และดังนั้นจึงมีเพียงพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้นที่มีธรรมกาย เพราะญาณของธรรมภายในเป็น “อสาธารณะ” มีได้เป็นของทั่วไปแก่พระสาวกด้วย เชื่อว่าความเข้าใจเช่นนี้นอาจเป็นความเข้าใจของคนส่วนใหญ่ในวง