การวิเคราะห์ธรรมกายของพระพุทธเจ้า หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 55
หน้าที่ 55 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์ธรรมกายของพระพุทธเจ้า ซึ่งมีลักษณะสำคัญคือ นิจจัง สุขัง อัตตา และความบริสุทธิ์ โดยเน้นถึงความงามของธรรมที่ไร้ขอบเขต และความมั่นคงของพระนิพพาน แม้ว่าพระพุทธเจ้าจะปรากฏหรือไม่ปรากฏในโลก แต่การมีอยู่ของพระองค์เป็นนิรันดร์และมั่นคง นอกจากนี้ยังอธิบายถึงความสำคัญของธรรมกายว่าเป็นแก้ว หรือกายเพชรที่มีลักษณะเที่ยงแท้ ยากจะประมาณค่า บทความนี้เหมาะสำหรับผู้ที่สนใจในหลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าและการสำรวจลักษณะของธรรมกาย.

หัวข้อประเด็น

-นิจจัง
-สุขัง
-อัตตา
-ความบริสุทธิ์
-ธรรมกาย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

วิเคราะห์สุขัง อัตตา และ ความบริสุทธิ์ ปราศจากการเกิด การเจริญ เติบโต ความเจ็บป่วย ความตาย ยาว สั้น ดำ และ ขาวตลอด กาล มันไม่เป็นเช่นนั้นไม่เป็นเช่นนี้ ไม่เป็นความรู้ไม่เป็นความ ไม่รู้ ถึงแม้ว่าพระพุทธเจ้าจะปรากฏและไม่ปรากฏเกิดขึ้นในโลก นี้ พระองค์ก็เป็นนิจจังมีความแน่นแน่และมั่นคง93 จากข้อความข้างต้นพระพุทธเจ้ามี 2 กาย คือ รูปกาย และ ธรรมกายใน ส่วนของรูปกายของพระพุทธองค์นั้นเป็นสังขตธรรม94 และกล่าวว่าธรรมกาย มีคุณสมบัติ 4 ประการคือ นิจจัง สุขัง อัตตา และความบริสุทธิ์ (วิสุทธิ์) ส่วน คุณสมบัติทั้ง 4 ประการนั้นคงมีกรกล่าวว่าชัดเจนอีกว่า “อัตตาคือพระพุทธเจ้า นิจจังคือธรรมกาย ความสุขคือพระนิพพาน ความบริสุทธิ์คืออัตตธรรม"95 และยังอธิบายถึงเหตุผลว่ากายของพระพุทธเจ้าเป็นนิจจัง ดังนี้ ดู่อก่อน กุลบุตร ท่านไม่ควรกล่าวเช่นนั้น มันเป็นการยาก ที่กล่าวว่ามันเป็นเหมือนภาชนะธรรมดาอันหนึ่ง พระผู้พระ ภาคเจ้าคือถาดตกٹาเปรียบเหมือนภาชนะแห่งธรรมอันสูงสุด ภาชนะธรรมดานั้นเป็นฉieżงไม่เที่ยงแท้แต่ไม่ใช่ของตกาด ในธรรมทั้งหลายพระนิพพานเป็นนิจจัง ดังนั้นกายของตกาด ก็เป็นนิจจัง เช่นกัน96 นอกจากนี้บัณฑิตได้อธิบายถึงลักษณะของธรรมกายเพิ่มเติมอีกว่า ธรรมกายเป็นแก้ว (กายเพชร, วัชระ) เป็นกาย ที่เที่ยงแท้และเป็นกายที่ไร้ขอบเขต97 ธรรมกายนี้สมบูรณ์จะ นับจะประมาณไม่ได้และเป็นบุญละเอียดยิ่ง98 ธรรมกายเป็นกาย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More