หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 109
หน้าที่ 109 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการเข้าถึงธรรมภายในและการเดินสมาบัติตามคำสอนในพุทธศาสนา ระบุถึงกระบวนการที่ผู้ปฏิบัติสามารถก้าวข้ามอุปสรรคทางจิตใจได้ ประกอบด้วยการทำสมาธิและการวางใจให้บริสุทธิ์เพื่อมุ่งสู่สถานะพระอรหันต์ โดยอธิบายถึงการขัดเกลากิเลสและการเปิดเผยความบริสุทธิ์ภายในที่ดำรงอยู่ก่อนหน้านี้ สร้างความเข้าใจในแนวทางการปฏิบัติที่สอดคล้องกับธรรมะของพระพุทธองค์.

หัวข้อประเด็น

- หลักธรรมภายใน
- การทำสมาธิ
- ความบริสุทธิ์ในพุทธศาสนา
- กิเลสและการขัดเกลา
- เส้นทางสู่อรหันต์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ ๑ ฉบับรวมงานวิจัยโดยออ เดินสมาบัติต่อเพ่งอธิษฐานจิตเป็นอนุโมทนาปรวิโลมต่อไป ถึงขีดสุด ละก็สัสได้อีก ๒ คือ การมาระ พยาบาทชั้นหยาบ จึงเลื่อนชั้น ขึ้นเป็นสากกภาย กายพระสกทาคามีเดินสมาบัติเพ่งอธิษฐานจิต สี่ ท่านน่องเดียวกันนั้นต่อไป ถึงขีดสุดอธิสได้อีก ๒ คือ กาม รคะ พยาบาทชั้นละละเอียด จึงเลื่อนชั้นเป็นพระอนาคามี แล้ว กายพระอนาคามีเดินสมาบัติเพ่งอธิษฐานจิตที่ท่านน่องเดียวกันนั้น ต่อไป ถึงขีดสุดอิสได้อีก ๕ คือ รูปารคะ อรูปารคะ มานะ อุทธจจะ อวิชชา จึงเลื่อนขึ้นจากพระอนาคามีเป็นพระอรหันต์ จิตของพระองค์บริสุทธิ์ผุดผ่องปราศจากกิเลสทั้งมวล จึงได้พระ เมตตานามว่า อรฺ คำสอนในวิชาชาธรรมกายนี้มีหลักการของความบริสุทธิ์ที่มีมาแต่เดิม แต่พัวพันกับกิเลสต่าง ๆ จนบัวหมองต้องวนเวียนอยู่ในวัฏสงสาร เมื่อไรที่ ขัดกิเลสเหล่านั้นออกไปได้ ความบริสุทธิ์ภายในซึ่งก็คือธรรม หรือกาย แท้ในกรณีของวิภาวก็จะปรากฏขึ้น จึงเป็นที่ชัดเจนว่าน่าจะมีการเรียกขาน ธรรมภายในด้วยคำอื่น ๆ เช่น ตากตดภะ อาสาวิญญาณ กายแท้ ซึ่งขึ้นอยู่ กับวัฒนธรรมและสังคมในแต่ละดินแดนและยุคสมัย แต่หลักการอันแท้จริง ของพระพุทธศาสนา ย่อมสอดคล้องและเป็นหลักการร่วมกันปรากฏให้เห็น อย่างชัดเจน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More