การแปลพระคัมภีร์พระพุทธศาสนาในประเทศจีน หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 118
หน้าที่ 118 / 374

สรุปเนื้อหา

ในยุคโอว๋อ่น พระพุทธศาสนาได้เข้ามาในประเทศจีน โดยมีพระธรรมทูตที่เริ่มการแปลพระสูตรต่างๆ จากภาษาดั้งเดิมเป็นภาษาจีน การแปลนี้มีการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง จนสำเร็จในคราวกงศ์กิ่ง สำหรับการแปลในปัจจุบันถือว่ามีความยากลำบาก โดยประวัติศาสตร์จีนแบ่งออกเป็นสามช่วง ช่วงแรกมีการแปลโดยพระธรรมทูตชาวต่างชาติ ช่วงที่สองเป็นการร่วมมือระหว่างพระธรรมทูตต่างชาติและชาวจีน และช่วงสุดท้ายมีนักแปลชาวจีนดำเนินการเอง เนื่องจากมีทักษะสูงที่พัฒนาขึ้นในช่วงหลัง โดยมหานครลั่วหยางเป็นศูนย์กลางการแปลที่สำคัญในยุคแรกนั้น มีคณะธรรมทูตที่มาจากชาติอื่นๆ ทำงานร่วมกันเพื่อถ่ายทอดคำสอนสู่ภาษาจีน ซึ่งยังคงส่งผลมาจนถึงปัจจุบัน

หัวข้อประเด็น

-การแปลพระคัมภีร์
-พระพุทธศาสนาในจีน
-พระธรรมทูต
-ประวัติศาสตร์การแปล
-ศูนย์กลางการแปลในลั่วหยาง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

รูปเข้าเฝ้าและสนทนาธรรมกับจักรพรรดิ้นิ้มดัง พระองค์ทรงบังเกิดความเลื่อมใสประกาศตนเป็นพุทธมามกะ อีกทั้งยังได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สร้างวัดมีขาวถวายพระเกษะทั้งสองรูป และทรงอุปถัมภ์พระเกษะในการแปลพระคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาเป็นภาษาจีนอีกด้วย เมื่อพระพุทธศาสนาได้รับการประดิษฐ์ฐานส่งสู่ประเทศจีนในยุคโอว๋อ่นแล้ว ศาสนกิจสำคัญอย่างยิ่งของพระธรรมทูตในสมัยนั่น คืิอการแปลพระสูตรต่างๆ จากต้นฉบับภาษาดั้งเดิมเป็นภาษาจีน ซึ่งงานแปลเหล่านี้ได้รับการสนับสนุนเรื่อยมาพระสูตรที่สำคัญๆ ทั้งหมดได้รับการแปลออกมาจนครบถ้วนและสิ้นสุดลงในคราวกงศ์กิ่ง แม้ว่าบในภายต่ออาจจะมีการแปลพระสูตรต่างๆ ออกมา บ้าง แต่ก็เป็นพระสูตรที่หลงเหลืออยู่ประมาณ20 การแปลพระสูตรต่างๆ เป็นภาษาจีนในปัจจุบันมีความยากลำบาก ไม่สามารถทำได้ครอบถ้วนภายในชั่วโมงอายุคุณ ต้องใช้เวลายาวนานหลายร้อยปี ประวัติศาสตร์จีนได้แบ่งยุคงานแปลออกเป็นสามช่วง ช่วงแรกอยู่คี่โคอ่วนหรืออั้มตะวันออก (พ.ศ. 568-763) ซึ่งผู้แปลหลักคือพระธรรมทูตชาวต่างชาติ ช่วงที่สองอยู่ในคราวชงถ่อง (พ.ศ. 1161-1450) เป็นความร่วมมือทำการแปลของพระธรรมทูต ชาวต่างชาติและชาวจีน และช่วงสุดท้ายอยู่ในยุคราชวงศ์ถง (พ.ศ. 1530-1822) นักแปลชาวจีนดำเนินการเองทั้งหมด เนื่องจากมีทักษะความชำนาญการแปลมากแล้ว ในช่วงแรกของการแปลพระคัมภีร์นั้น มหานครลั่วหยางเป็นศูนย์กลางการแปล มีคณะธรรมทูตชาติต่างชาติเป็นหลักการทำงาน พระธรรมทูตเหล่านี้เป็นชาวพาร์เธียน ชาวญาณนะ ชาวซอกเดียน และกลุ่มเชื่อสายชาวอินเดีย หนึ่งในนักแปลสำคัญชาวพาร์เธียนในยุคแรกนี้คือพระอนชื่อภาวะ ผกดตั้งสำนักงานปฏิบัติธรรมที่มีฐานะคำสอนของหินยาน โดยมีศิษย์ผู้ใกล้ชิดคือพระคงเช็งหุ้ย และ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More