การบรรลุธรรมกายในพระพุทธศาสนา หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 108
หน้าที่ 108 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบธรรมกายที่งดงามกับรูปพรหม พร้อมการอธิบายวิธีการเข้าถึงธรรมกาย โดยใช้อุปมาดอกบัวแสดงถึงการก้าวข้ามจากการมีอวิชชา จนถึงการบรรลุเป็นพระโสดาบัน การละสิ่งที่เป็นอุปสรรคในการเข้าถึงธรรมและความบริสุทธิ์ภายในเป็นสิ่งสำคัญในกระบวนการนี้ โดยเกี่ยวข้องกับการละความผิดปกติในกายมนุษย์และการเข้าถึงกายธรรมในทางทางพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-ธรรมกาย
-การบรรลุธรรม
-พระโสดาบัน
-อวิชชา
-ดอกบัว

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เป็นร่างเช่นกันแต่สวยกว่ากากรูปพระพรหมสวยกว่านอกจากนั้นกายอรูปพรหมสวยงามยิงกว่ารูปพรหมขึ้นไปอีก ธรรมกายนนมีสีเสเหมือนแก้ว สัญฐานดังรูปพระพุทธปฏิมากรธรณีเป็นดอกบัวงดงามได้กล่าวมาแล้ว50 พระธรรมกายที่มีสัญฐานอย่างพระพุทธปฏิมากรสวิตอยู่ภายในนั้นเป็นลักษณะที่สอดคล้องกับคำสอนพื้นฐานในคัมภีร์กลุ่มตกติดต่อเป็นอย่างมาก ตามข้อนความว่า “สรรพสัตว์มิดตาดอยู่ในตัว เมื่อเปรียบสรรพสัตว์ดังดอกบัวแล้ว ย่อมมีพระผู้ตรัสรู้ประทินสมาธิในโลกนานดอกบัวนั้น” ส่วนการให้ได้ธรรมกายในอบริสุทธิ์ภายในนั้น ก็เสาธิเป้นเป้อจะต้องถูกขจัดออกเป็นชั้นๆ ดังพระธรรมเทคนันนี้ การละกิจของพระองคหลุดไปเป็นชั้นๆ ตั้งแต่กิจในกายมนุษย์ กายทิพย์ กายรูปพรหม กายอรูปพรหมเป็นลำดับไป ก็เสาธในกายมนุษย์ คือ อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฐิ ก็เสาธในกายทิพย์ คือ โลละ โทสะ โมหะ ก็เสาธในกายรูปพรหม คือ ราคะ โทสะ โมหะ ก็เสาธในกายอรูปพรหม คือ กามราคะสังข์ ปุญญาสังข์ อวิชชานสังข์ ต่อแต่นี้จึงชักเข้าถึงกายหนึ่ง คือกายธรรม หรือเรียกว่า ธรรมกาย เข้าชั้นโคตรกฏิเรียกว่โคตรบุญ โคตรบุญบุคคลนี้เดินสมบัติเพ่งอร่อยสัจจะเป็นอุปโลมปฏิโลม จนสุดพ้นจากกิจสพวกภิกษาทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตุปรามาสแล้ว ตกศูนย์วับกลับเป็นพระโสดาบันเป็นอันว่านพระโสดาบันละก็เสาธใน3 คือ ลักษณะทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตุปรามาส แล้วภายในโสดาบันนี้
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More