พระตกคติและธรรมกายในคำสอนของพระมงคลเทพมุนี หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 140
หน้าที่ 140 / 374

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงความหมายของพระตกคติที่เป็นธรรมกายตามคัมภีร์อรรถกิจกับคำสอนของพระมงคลเทพมุนี โดยชี้ว่า ธรรมกายเป็นภายในที่ไร้สิ่งใด และเป็นกายสูงสุดที่มีคุณสมบัติไม่เปลี่ยนแปลง ไม่ทุกข์ และมีความสุข คำสอนนี้ยังเชื่อมโยงกับหลักธรรมของพระพุทธเจ้าเรื่อง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ที่นำไปสู่นิจกัจฉล สุขัง และอัตตาในธรรมกาย

หัวข้อประเด็น

-พระตกคติ
-ธรรมกาย
-วิชชาธรรมกาย
-พระมงคลเทพมุนี
-การเปรียบเทียบหลักธรรม
-อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา
-นิจกัจฉล สุขัง อัตตา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

นอกจากจะกล่าวไว้ว่าพระตกคติคือธรรมกาย และพระตกคติเป็นนิจกัจฉลแล้วในคัมภีร์อรรถกิจก็ยิ่งกล่าวเพิ่มเติมว่าพระตกคติคือภายในปัญญาที่ยิ่งใหญ่128 ธรรมกายคือภายในที่ไร้สิ่งใดทั้งสิ้น129 และธรรมกายเป็นกายสูงสุด(ไร้สิ่งที่เหนือกว่า)130 ในการเปรียบเทียบกับคำสอนวิชชาธรรมกายของพระเดชพระคุณพระมงคลเทพมุนี (สด จนทสโร) วัดปากน้ำภาษีเจริญ พบว่าท่านได้เทศกัณฑ์อ้างอิงแนวพระโอวาทของพระพุทธเจ้าว่า ด้วยเรื่อง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา แล้วจึงกล่าวถึงสิ่งตรงกันข้ามคือ นิจกัจฉล สุขัง อัตตาของธรรมกายได้ดังนี้ เหตุใดพระองค์จึงเน้นสอนหนักไปในทาง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา? เมื่อใครคราะญโดยสุขแล้วจะมองเห็นว่า พระองค์สอนดังนั้นเพื่อจะปล่อยให้คนที่มีความคิดเห็นอันในตัวเองเช่นพระองค์ตรัสถึง “อนิจจัง” ก็เพื่อให้คินคิดหา “นิจกัจฉล” ตรัสถึง “ทุกขัง” ก็เพื่อให้คิดหา “สุขัง” ตรัสถึง “อัตตา” ก็เพื่อให้คิดหา “อัตตา” คนที่มีปัญญาเฉลียวฉลาดประกอบด้วยความเพียรพิถีพิถันจะมองเห็นแนวพระโอวาทของพระองค์...อนิจจังบอกนิจกัจฉล ทุกขังบอกสุขัง อนัตตา บอกอัตตา…อะไรสำเป็นนิจกัจฉล สุขัง อัตตา? คือธรรมกายนี้เองเป็นตัวนิจกัจฉล สุขัง อัตตา131 กล่าวคือธรรมกายมีคุณสมบัติตรงข้ามกับนิจกัจฉลหรือความไม่เที่ยงแท้มั่นคง อีกทั้งตรงข้ามกับความทุกข์และอนัตตา จากข้อความนี้ธรรมกายมีคุณสมบัติมั่นคงไม่เปลี่ยนแปรสูญสลาย และเป็นสุขไม่เป็นทุกข์ ซึ่งสอดคล้อง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More