พุทธวาสติในคัมภีร์จิตตรารักษ์ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 197
หน้าที่ 197 / 374

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้สำรวจการปฏิบัติธรรมแบบพุทธวาสติในพระไตรปิฎกบาลี ซึ่งวางไว้เป็นอันดับแรกในอนุสติ 6 ประการ ถูกรวบรวมโดยอ๋อ ทั้งยังยกตัวอย่างจากคัมภีร์จุตรำขาเพื่อชี้ให้เห็นถึงความถูกต้องและชัดเจนในการใช้งาน รวมถึงการนำมาตรฐานในการอธิบายคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไปใช้ด้วย เป็นการชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของการปฏิบัติธรรมนี้ในแง่ของการศึกษาพุทธศาสนา โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลจากพระไตรปิฎกและอรรถกถาบาลี

หัวข้อประเด็น

-การปฏิบัติธรรมแบบพุทธวาสติ
-ความสำคัญในพระไตรปิฎก
-การวิเคราะห์คัมภีร์จิตตรารักษ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

หลักฐานธรรมาภายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวบรวมงานวิจัยโดยอ๋อ พุทธวาสติในคัมภีร์จิตตรารักษ์กับพระไตรปิฎกและอรรถกถาบาลี การปฏิบัติธรรมแบบพุทธวาสติปรากฏอยู่หลายแห่งในพระไตรปิฎกบาลี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบรรดาอนุสติ 6 ประการ50 การปฏิบัติธรรมแบบพุทธวาสติถูกจัดวางไว้เป็นอันดับแรกสุด51 ซึ่งเหมือนกับที่ปรากฏในคัมภีร์จุตรำขานี้ ซึ่งผู้แต่งก็ได้วางพุทธวาสติไว้เป็นอันดับแรกเช่นกัน นับได้ว่าผู้แต่งได้ย่อยและให้ความสำคัญกับการปฏิบัติธรรมแบบพุทธวาสติเป็นอย่างมาก จากเนื้อหาและการใช้คำของพุทธวาสติในคัมภีร์จุตรำขาทำให้ทราบว่า ผู้แต่งคัมภีร์จุตรำขาได้ใช้ข้อมูลจากพระไตรปิฎกและอรรถกถาบาลี คืออ่านแบบอย่างมาตรฐานในการกล่าวสรรเสริญและอธิบายคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มาประยุกต์ในเนื้อในแต่งทศวรรษใดอย่างกระชับและถูกต้องชัดเจน แบบอย่างมาตรฐานของคุณของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในพระไตรปิฎกได้แก่ อุตติบ โส ภควา อรหิ สมนฺมภูโต วิชาญจรณสมฺโม สุกฺโโต โลกวิทู อนุตตโร ปริสุทฺธม своего สตา เทวมุสุาปนุ สุตา ฯ52 โส อิมิโล กสมา สมนฺกะ สมรํ คําสุสมฺมฺสํสมุนฺ พ ํ สกุมํ สาย อภิญฺญา สุจิตฺตา ปาเทสํ โสรํ เทศสํ อาทิกฺลายาณ มุขจํกลายาณ ปโยสนกลายาณ สาตฺติ สพฺยชนํ เกวลาปฺรฺปุนฺ ปริตฺสุพรหมจริย ปกาเสติ ฯ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More