คัมภีร์มหายานและการทำสมาธิ หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ 1 ฉบับรวมงานวิจัยโดยย่อ หน้า 130
หน้าที่ 130 / 374

สรุปเนื้อหา

คัมภีร์มหายานเป็นฐานการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในจีนและประเทศอื่น มีเนื้อหากล่าวถึงการทำสมาธิและการเห็นพระพุทธเจ้าในดวงสว่างกลางกาย โดยพระกฤษีได้อธิบายวิธีการปฏิบัติสมาธิ โดยระบุว่าพระธรรมกายซ้อนอยู่ภายในผู้ปฏิบัติ มีการแบ่งการปฏิบัติออกเป็นสี่ประเภท อธิบายความหมายและวิธีการเข้าใจถึงความสำเร็จในสมาธิผ่านการนิมิตหลายรูปแบบที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าและการปฏิบัติทางจิตอย่างลึกซึ้ง มีการเปรียบเทียบการไปถึงพระแห่งการรู้แจ้งดุจดังการค้นพบมุกเม็ดในน้ำ

หัวข้อประเด็น

-คัมภีร์มหายาน
-การทำสมาธิ
-พระพุทธเจ้า
-พระธรรมกาย
-การปฏิบัติทางพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คัมภีร์มหายานเป็นภาษาจีนหลายลักษ์92 ซึ่งถือเป็นฐานการเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งในประเทศจีนและอื่นๆ สืบทอดต่อมากว่าสิบปี เนื้อหาของคัมภีร์ “ชื่อเหวยเลี้ยหยั่วฝา” ของพระกฤษีในส่วนของการทำสมาธิด้วยการระลึกเห็นพระพุทธเจ้าเขียนไว้ว่า ...ผู้ปฏิบัติพากายแก้ว... แล้วเห็นดวงสว่างผุดออกมา จากกลางกายนั้น... เมื่อดวงสว่างผุดออกมาจากกลางกายนั้น แล้ว ให้ผู้ปฏิบัติเห็นพระอริยคุณในกลางดวงสว่างกลางกายนัน94 ชื่อพระอิมิติายุเป็นพระนามของพระอมิตาภพุทธ ซึ่งเป็นพระพุทธเจ้า พระองค์หนึ่งของมหายาน ข้อความข้างต้นจึงหมายถึงการได้เห็นพระพุทธเจ้าในกลางดวงสว่าง ที่ผุดออกจากกลางกาย นอกจากนี้ยังปรากฏข้อความที่ให้ความชัดเจนในการปฏิบัติเพิ่มเติม ซึ่งแสดงถึงการตรึงพระธรรมกายหรือการเห็นพระธรรมกายว่า “พระธรรมกายซ้อนอยู่ภายในเนื้อของผู้ปฏิบัติ”95 และอุปมาไว้ด้วยว่า “ดูบุรุษผู้ถึงคนโทก่อน แล้วต่อมาจึงถึงมุกเม็ดที่อยู่ในคนโทนั้น”96 พระกฤษีพึงได้สรุปแบบการปฏิบัติสมาธิแบบพุทธานุสติไว้ในคัมภีร์ “ชื่อเหวยเลี่ยหยั่วฝา” อีกว่ามีทั้งหมดสี่ประเภทดังนี้97 1. นิกายนิมิตพระพุทธรูป98 ประกอบด้วยหาอปุรสักษณะ 32 และอนุพายัญชนะ 80 ประการ 2. นิกายนิมิตพระรูปกาย99 ประกอบด้วยขั้น5 (เบญจขันธ์) ของพระพุทธองค์
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More