ข้อความต้นฉบับในหน้า
บันทึกของสมณะอีชิงในพุทธศตวรรษที่ 12 กล่าวไว้ว่า ดินแดนทางฝั่งตะวันออกของอ่าวเบงกอลมีอาณาจักรต่างๆ หลายอาณาจักร ทุกอาณาจักรมั่นคงในพระรัตนตรัย โดยมีอาณาจักรหว่ารวดีริษามอยู่ในบันทึกนั้นด้วย การจำแนกโบราณวัตถุต่างๆ ในประเทศไทยตั้งแต่องคาวร์ดินั้น3 ทำให้ทราบได้ว่าดินแดนต่างๆ ในประเทศไทย เคยได้รับนับถือศาสนาพุทธนิกายต่างๆ หลายศากย เช่น นิยาสรรวาสติวาต นิยาสุขาวดมหายาน วัชชยาน และเการวาทเป็นต้น นิยายต่างๆ ที่เคยรุ่งเรืองและเสื่อมลงนั้น ได้ทั้งร่องรอยของแนวความคิด4 และหลักปฏิบัติต่างๆ ไว้ หลักฐานทางเอกสารประเภทหนึ่งที่ช่วยในการหาร่องรอยเหล่านั้น คือ คัมภีร์พระพุทธศาสนาที่จารึกในลาน และกระดาษสาในท้องถิ่นต่างๆ แม้ว่าจะมีการคัดลอกขึ้นใหม่ทดแทนคัมภีร์ในลานเก่าที่เสื่อมสภาพไป แต่ว่าถ้าเนื้อหาสาระที่คัดลอกไว้ฉนั้นย่อมดำรงอยู่และสืบทอดต่อกันมา
“อักษรรวม” เป็นอักษรที่แพร่หลายอยู่ในกลุ่มอายธรรมไท-ลาว มาแต่เดิม นิยมใช้เขียนในพื้นที่ตั้งแต่เชียงรุ่งสิบสองปันนาของจีน เชียงตุงในพม่าดินแดนล้านนา ล้านช้าง และภาคอีสานของไทย ส่วนใหญ่มักใช้เขียนหนังสือทางศาสาจิ่งเรียกกันว่าอักษรธรรม อักษรธรรมที่ใช้ในลานนาเรียกว่าอักษรธรรมลาวหรือลาวธรรมล้านนา ที่ใช้เขียนกันในลาวเรียกว่าอักษรลาวหรืออักษรธรรมล้านช้าง ส่วนที่พบในภาคอีสานของไทยเรียกว่าอักษรธรรมอีสาน และยังมีอักษรธรรมไทยบ้านในแถบเชียงตุง อักษรธรรมไทยลือของสิบสองปันนาอีกด้วย อักษรธรรมของแต่ละพื้นที่จะมีลักษณะแตกต่างกันเล็กน้อย ปัจจุบันในประเทศไทยผู้อ่านเขียนอักษรธรรมได้ไม่มาก