ข้อความต้นฉบับในหน้า
หลักฐานธรรมภายในคัมภีร์พุทธโบราณ ๑ ฉบับรวมงานวิจัยโดยอ๋อ
กับวิชาชาญธรรมภายเป็นอย่างมาก เช่นเรื่องมาเกิดเป็นมนุษย์ก็เพื่อจะมาหาดวงแก้ว หรือการที่จะกลับไปหา “ดวงแก้วที่ข้ามา” เรื่องบุญบาป เรื่องชมพูทวีปเป็นแหล่งสร้างบารมี เรื่องพระพุทธเจ้าทั้งหลายปรินิพพานแล้วยังดำรงอยู่ในอายตน นิพพาน เป็นต้น แม้จะมีข้อแตกต่างกันในรายละเอียดการใช้ศัพท์ปรากฏอยูบ้างก็ตาม
ส่วนด้านธรรมปฏิบัติพบว่าในคัมภีร์ท้องถิ่นและวิชาชาญธรรมภายมีความคล้ายคลึงกันในวิธีการเบื้องต้น เกี่ยวกับการใช้กรรมมินดความสำคัญ คำบริการภาวนา “สัมมาอะระหัง” รวมไปถึงประสบการณ์เบื้องต้นในการปฏิบัติ เช่นการเห็นความสง่า เห็นดวงแก้วหรือธรรมหใสล่ำ เป็นต้น แต่จะแตกต่างกันในเรื่องฐานที่ตั้งของใจในการเจริญวานาทและการบรรลุมรรคผล ที่สำคัญที่สุดในคัมภีร์ปฏิบัติธรรท้องถิ่นไม่ปรากฏหลักการและขั้นตอนในการบรรลุมรรคผลนิพพานด้วยพระธรรมกายแต่อย่างไร แม้จะมีร่องรอยของ “พระ ญาณกสิณ” อยู่บ้าง แต่ก็เป็นประเด็นที่ไม่ชัดเจนต้องค้นคว้าต่อไป
การที่คัมภีร์โบราณจากภูมิภาคค้นธาระ เอเชียกลาง และจีน รวมถึงคัมภีร์ปฏิบัติธรรท้องถิ่นแถบอาณเชอาอาณเวมีความสอดคล้องกัน วิชาชาญธรรมภายแต่เพียงบางระดับ ซึ่งแตกต่างกันไปขึ้นกับอายุความเก่าแก่ของนิยาย ภาวะวัฒนธรรม ยุคสมัยกาลสละ หรือที่ตั้งภูมิสาสตร์ตาม ย่อมให้ภาพของแกนกลางที่ใชร่วมกัน (norm) ของพระพุทธศาสนาอันเป็นสากลโดยเฉพาะในธรรมปฏิบัติสมาธิภาวนา หากสรุปในภาษาวิชาการ ก็กล่าวได้ว่าภาคปฏิบัติที่ปรากฏในคัมภีร์ของพระพุทธศาสนาในภูมิภาคต่างๆ และวิชาชาญธรรมภายมีโครงสร้างเดียวกันแต่พัฒนากระบวนการในการปฏิบัติวัต่างกันในขณะเดียวกันเมื่อมองในแง่ของประสบการณ์ ความชัดเจนของพระเดช